• Tidak ada hasil yang ditemukan

สายพันธุ์พยัคฆ์ √

บทที่ 3

12. สายพันธุ์พยัคฆ์ √

13. กุหลาบรัตติกาล √ √

14. ฤดูดาว √ √ √ √

15. คชาปุระ √ √ √ √

16. นครไอยรา √ √ √

98 ตาราง 1 แสดงประเภทความเป็นจินตินิมิตในนวนิยายแนวจินตมิตของไทย (ต่อ)

ประเภทความเป็น จินตนิมิต

นวนิยาย แนวจินตนิมิต

ความเป็นจินตนิมิตของ ตัวละครอมนุษย์

ความเป็นจินตนิมิตของ ฉากและบรรยากาศ สัตว์ สัตว์

ประหลาด

พืช เทพา รักษ์

พื้นที่ ปรากฏการณ์

ทางธรรมชาติ

17. กีฏมนตรา √ √ √

18. สาปพิษฐาน √ √ √

19. กลกิโมโน √ √ √

20. เพชรอัคนี √ √ √ √

21. โสมสีเลือด √ √ √

22. นาคี ๒ √ √

สรุป 12 12 9 4 14 12

จากตารางข้างต้น แสดงให้เห็นว่านักเขียนได้น าเสนอตัวละครสัตว์และสัตว์ประหลาด เป็นจ านวนมากที่สุดในกลุ่มนวนิยายทั้งหมด และน าเสนอตัวละครเทพารักษ์น้อยที่สุด ส่วนในด้าน ภาพของสัตว์ประหลาดนั้นเป็นภาพแทนของความลักลั่น/ความผิดปกติ/ความคลุมเครือที่น่าสนใจใน เนื้อเรื่อง

เมื่อพิจารณาฉากแล้ว พบว่านักเขียนน าเสนอธรรมชาติผ่านพื้นที่ธรรมชาติมากกว่า ปรากฏการณ์ทางธรรมชาติ นั่นอาจแสดงให้เห็นว่า พื้นที่ธรรมชาติสามารถใช้เป็นฉากส าคัญใน นวนิยายได้ชัดเจนและเป็นรูปธรรมมากกว่า อย่างไรก็ตาม จากตารางสังเกตได้ว่านวนิยายที่น าเสนอ พื้นที่ธรรมชาติมักจะน าเสนอปรากฏการณ์ทางธรรมชาติในเนื้อเรื่องด้วย แสดงให้เห็นว่าภาพแทน ธรรมชาติที่น าเสนอผ่านฉากมีการถ่ายทอดทั้งการบรรยายพื้นที่และปรากฏการณ์ทางธรรมชาติไป พร้อม ๆ กัน

กล่าวโดยสรุป องค์ความรู้เกี่ยวกับนวนิยายแนวจินตนิมิตแสดงให้เห็นว่า ความเป็น จินตนิมิตในเรื่องเล่าไม่ได้เป็นเรื่องใหม่ หากแต่มีการสืบขนบมาจากยุควรรณคดี และเมื่อส ารวจความ เป็น จินตนิมิตของทั้งในประเทศฝั่งตะวันตกและประเทศไทยท าให้พบว่าองค์ประกอบแบบจินตนิมิต เป็นคุณสมบัติของเรื่องเล่าประเภทเหนือจริงที่มีความเป็นสากล นอกจากนั้นเมื่อส ารวจนวนิยายที่มี

ลักษณะใกล้เคียงกับนวนิยายแนวจินตนิมิตพบว่ามีนวนิยายที่มีการนิยามความหมายใกล้เคียง หาก แต่นวนิยายแนวจินตนิมิตมีความชัดเจนและครอบคลุมบริบทความเหนือจริงที่ได้รับการน าเสนอใน

99 วรรณกรรมมากที่สุด ประเด็นส าคัญคือการสืบทอดการสร้างสรรค์ของนักเขียนรุ่นใหม่ (พงศกรและ หมอกมุงเมือง) ที่มีต่อนักเขียนรุ่นเก่า (จินตวีร์ วิวัธน์ และ ตรี อภิรุม) แสดงให้เห็นถึงระบบคิดว่าด้วย ความเป็นจินตนิมิตที่ร้อยรัดเชื่อมโยงกัน

จากการสังเขปนวนิยายแนวจินตนิมิตพบว่า มีลักษณะทางไวยากรณ์ของตัวบทหรือสูตร ส าเร็จอยู่ 3 ลักษณะ ได้แก่ นวนิยายแนวจินตนิมิตว่าด้วยการผจญภัย นวนิยายแนวจินตนิมิตว่าด้วย ค าสาป นวนิยายแนวจินตนิมิตว่าด้วยวิทยาศาสตร์ ผู้วิจัยสามารถสรุปสูตรส าเร็จดังนี้

นวนิยายแนวจินตนิมิตว่าด้วยการผจญภัย ปรากฏ 6 เรื่อง ได้แก่ บุปผาเพลิง บท ประพันธ์ของ จินตวีร์ วิวัธน์, มิติหลง บทประพันธ์ของ หทัย ธรณี (จินตวีร์ วิวัธน์), อาศรมสาง บทประพันธ์ของ จินตวีร์ วิวัธน์, คชาปุระ บทประพันธ์ของ พงศกร, นครไอยรา บทประพันธ์ของ พงศกร, เพชรอัคนี บทประพันธ์ของ พงศกร มีสูตรส าเร็จดังนี้ การเริ่มต้นที่มีความผิดปกติของ สถานการณ์บางอย่าง ตัวละครออกเดินทาง/สืบหา/แก้ไขความผิดปกตินั้นๆ การเดินทางต้องไปยัง พื้นที่ทุรกันดารหรือพื้นที่นอกมิติสามัญ ตัวละครต่อสู้กับศัตรูซึ่งเป็นตัวแทนของธรรมชาติด้านร้าย ตัวละครได้รับชัยชนะและกลับคืนสู่โลกปกติอย่างสงบสุข

นวนิยายแนวจินตนิมิตว่าด้วยค าสาป สามารถแบ่งออกเป็น 2 ลักษณะได้แก่ โครง เรื่องว่าด้วยมนุษย์ถูกสาปและโครงเรื่องว่าด้วยธรรมชาติถูกสาป ด้านโครงเรื่องว่าด้วยมนุษย์ถูกสาป ปรากฏ 8 เรื่อง ได้แก่ ภูตพระจันทร์ บทประพันธ์ของ จินตวีร์ วิวัธน์, นาคี บทประพันธ์ของ ตรี อภิรุม , นาคี ๒ บทประพันธ์ของ ตรี อภิรุม, พรายพระกาฬ บทประพันธ์ของ จินตวีร์ วิวัธน์, วังพญาพราย บทประพันธ์ของ พงศกร, สายพันธุ์พยัคฆ์ บทประพันธ์ของ ตรี อภิรุม, สาปพิษฐาน บทประพันธ์ของ หมอกมุงเมือง, โสมสีเลือด บทประพันธ์ของ หมอกมุงเมือง มีสูตรส าเร็จดังนี้ ตัวละครมนุษย์ท าให้ตัว ละครธรรมชาติไม่พอใจ ตัวละครธรรมชาติสาปตัวละครมนุษย์ ตัวละครมนุษย์รับผลจากค าสาป ชั่วระยะเวลาหนึ่ง ตัวละครมนุษย์สามารถถอนค าสาปได้และกลับมาสู่ความสงบสุขอีกครั้งหนึ่ง

ด้านโครงเรื่องว่าด้วยธรรมชาติถูกสาป ปรากฏ 3 เรื่อง ได้แก่ สร้อยแสงจันทร์ บทประพันธ์

ของ พงศกร, ฤดูดาว บทประพันธ์ของ พงศกร, กลกิโมโน บทประพันธ์ของ พงศกร มีสูตรส าเร็จ ดังนี้

ตัวละครอมนุษย์หรือตัวละครมนุษย์ท าผิดกฎบางประการ ตัวละครดังกล่าวจึงถูกสาปและรับผลของ ค าสาปชั่วระยะเวลาหนึ่ง ตัวละครมนุษย์มาถอนค าสาปให้แก่ตัวละครเหล่านั้นจนกระทั่งจากค าสาป และเรื่องราวกลับคืนสู่ความสงบสุข

100 นวนิยายแนวจินตนิมิตว่าด้วยวิทยาศาสตร์ ปรากฏ 5 เรื่อง ได้แก่ มฤตยูเขียว บทประพันธ์ของ จินตวีร์ วิวัธน์, มนุษย์ชิ้นส่วน บทประพันธ์ของ จินตวีร์ วิวัธน์, กลิ่นการเวก บทประพันธ์ของ พงศกร, กุหลาบรัตติกาล บทประพันธ์ของ พงศกร, กีฎมนตรา บทประพันธ์ของ หมอกมุงเมือง มีสูตรส าเร็จดังนี้ ตัวละครต้องการสร้างธรรมชาติขึ้นมาเพื่อประโยชน์ส่วนตน ตัวละคร ด าเนินการสร้างธรรมชาตินั้น ธรรมชาติที่ถูกสร้างคุกคามผู้อื่น ธรรมชาติที่ถูกสร้างถูกก าจัดและ เรื่องราวกลับสู่ความสงบ

101