• Tidak ada hasil yang ditemukan

Travel Literature: Concepts  and Creative Perpetuation in Thai Social Contexts

N/A
N/A
Nguyễn Gia Hào

Academic year: 2023

Membagikan "Travel Literature: Concepts  and Creative Perpetuation in Thai Social Contexts"

Copied!
402
0
0

Teks penuh

In the first view of content features, Thai travel literature is records of stories through recognized experiences. In light of the relationship between travel literature and Thai socio-cultural contexts, the results showed as follows.

บทที่ 1 บทน า

ภูมิหลัง

ความมุ่งหมายของการวิจัย

นิราศต้นทางฝรั่งเศษ ประเภทนิราศค ากลอน

  • ขั้นรวบรวมข้อมูล
  • ขั้นวิเคราะห์ข้อมูล
  • ขั้นน าเสนอผลการศึกษาค้นคว้า
  • กรอบแนวคิดที่ใช้ในการศึกษา

มีเนื้อหาเกี่ยวกับการท่องเที่ยวที่สามารถใช้ได้ การเขียนเชิงท่องเที่ยวนำเสนอในรูปแบบต่างๆ ดังที่ Carl Thompson (2011) กล่าวถึง ความเห็นของนักเขียนวรรณกรรมตะวันตกเกี่ยวกับประเภทและรูปแบบของเนื้อหาในกลุ่มนี้แสดงให้เห็นว่าการเขียนเชิงท่องเที่ยวเป็นการผสมผสานรูปแบบต่างๆ และการเรียบเรียงงานเขียนหลายประเภทเข้าด้วยกัน สามารถนำเสนอได้ในรูปแบบวรรณกรรมหลายรูปแบบ เช่น สารคดี จดหมาย นวนิยาย บทกวีท่องเที่ยว เป็นต้น ผู้เขียนมีอิสระที่จะนำเสนอผลงานของตน นักวิชาการอีกกลุ่มหนึ่งที่พยายามขยายขอบเขตของคำว่า “การเดินทาง” รวมถึงเอกสารอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับการท่องเที่ยวหรือศิลปวัตถุทางวัฒนธรรม

บทที่ 2

วัฒนธรรมการเดินทางและวรรณกรรมการเดินทาง

ความหมายของการเดินทาง

ฉายาว่า “ธรรมอโศก” หรือ “อโศกผู้ทรงคุณธรรม” ครองราชย์นานถึง 41 ปี (พระมหาสิงห์ปริยัติเมธี, 2559) "สงครามครูเสด" หรือ "สงครามครูเสด" เป็นการสู้รบระหว่างศาสนากับต่างประเทศ ให้.

การเดินทางในบริบทวัฒนธรรมของกลุ่มชนชาติไทย

เริ่มชัดเจนในปี พ.ศ. 2479 เมื่อกระทรวงเศรษฐกิจเสนอโครงการ การบำรุงรักษาอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวในสยามต่อคณะรัฐมนตรี โดยเสนอแผนและวัตถุประสงค์ในการบำรุงรักษาอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวใน 3 ด้าน คือ 1) งานโฆษณาเพื่อดึงดูดนักท่องเที่ยว 2) งานต้อนรับนักท่องเที่ยว 3) การบำรุงรักษาสถานที่และที่พัก (ธนกฤต แสงคชะชัย, 2550) รวดเร็ว ตัวอย่างในภาษาอังกฤษยุคแรก เช่น The Unfortunate Traveller ของ Thomas Nash และ The Travels of Three English Brothers (1607) โดย John Day, William Rowley และ George Wilkins ประสบความสำเร็จและยังได้รับความนิยมในต่างประเทศอีกด้วย และในขณะที่งาน The Tempest (1611) ของเช็คสเปียร์สะท้อนสิ่งนี้ มีความอ่อนไหวเกี่ยวกับการล่าอาณานิคม (Carl, Thompson, 2011) เป็นต้น

บทที่ 3

มโนทัศน์และลักษณะส าคัญของวรรณกรรมการเดินทางของไทย

การเดินทางคือการแสวงหาความหลุดพ้น

การเดินทางคือการค้นหาความหมายของชีวิต

การเดินทางคือการเรียนรู้

ยาอายุวัฒนะแห่งชีวิตในโลก คำสอนของศาสนา เป็นทางแห่งความดับทุกข์ทั้งปวง พระองค์เจ้าดำรงค์ราชานุภาพ 2561) จากมุมมองนี้ ธเนศร์ อาพรสุวรรณ (2565) กล่าวอย่างน่าสนใจว่าภายใต้ความรู้ ข้าราชการรุ่นเยาว์จำนวน 136 คน เช่น เสมียน ลำหาดเล็ก คงจะเข้าใจว่านี่เป็นเพียงสิ่งที่ต้องทำเท่านั้น สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าดำรงค์ราชานุภาพ พ.ศ. 2561)

การเดินทางคือการเยียวยาจิตใจ

การเดินทางคือการหาความรื่นรมย์จากธรรมชาติ

การเดินทางคือการพิสูจน์ตัวตน

ด้านเนื้อหา

  • วรรณกรรมการเดินทางมักมีการให้รายละเอียดของการเดินทาง

157 ประเภทจดหมายเหตุระยะทางต่าง ๆ เช่น ใน “หนังสือหม่อมราโชทัย (กระต่าย) ได้รับพระราชทาน จดหมายรายงานเรื่อง ตามระยะทางที่พวกทูตกราบถวายบังคมออกจากกรุงเทพมหานครไปเจริญทาง พระราชไมตรีเมื่อจุลศักราชพันสองร้อยสิบเก้า ปีมเสง นพศก นั้นทูลเกล้าทูลกระหม่อมถวาย” (พ.ศ. 2400) ในสมัยรัชกาลที่ 4 ครั้งพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวโปรดเกล้าฯ ให้หม่อมราโชทัยเป็น ล่ามหลวงไปกับคณะราชทูตไทยที่เชิญพระราชสาส์นและเครื่องมงคลราชบรรณาการ เดินทางไปถวาย สมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรีย หลังจากนั้น 2 ปี จากการเดินทางไปในครั้งนั้น จึงเกิดหนังสือนิราศ เมืองลอนดอนขึ้น ต่อมาพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้หม่อม ราโชทัยขึ้นเป็นอธิบดีพิพากษาศาลต่างประเทศเป็นคนแรกของไทย การบันทึกรายงานของหม่อม ราโชทัยใน“หนังสือหม่อมราโชทัย (กระต่าย) ได้รับพระราชทานจดหมายรายงานเรื่อง ตามระยะทาง ที่พวกทูตกราบถวายบังคมออกจากรุงเทพมหานครไปเจริญทางพระราชไมตรีเมื่อจุลศักราชพันสอง ร้อยสิบเก้า ปีมเสง นพศก นั้นทูลเกล้าทูลกระหม่อมถวาย หรือจดหมายเหตุเรื่องทูตไทยไปประเทศ อังกฤษ”การบันทึกของหม่อมราโชทัยในครั้งนั้นแบ่งเป็นตอนทั้งหมด 13 ตอน ดังนี้. ข้อความที่ยกมาเป็นช่วงที่นายแสงพาหลงทางแถวปากทุ่งพัทยาสุนทรภู่และพวกต้อง เดินบุกป่าแขมรก เดินลุยเลนจนถึงเที่ยง ซึ่งแสดงให้เห็นถึงความยากล าบากในการเดินทาง และอีก ข้อความที่ว่า. 162 ความยากง่ายของค าประพันธ์ที่ใช้แต่ง เป็นอีกประการหนึ่งที่ผู้แต่งวรรณกรรมการ เดินทางอาจแต่งเรื่องราวการเดินทางขึ้นในภายหลังการเดินทางครั้งนั้น ๆ ซึ่งอาจจะสังเกตได้ในโคลง นิราศสุพรรณ แต่งด้วยโคลงทั้งหมด 462 บท สุนทรภู่ใช้โคลงกลบทในการแต่งหลายรูปแบบ เป็น โคลงที่มีสัมผัสในเหมือนอย่างกลอน นอกจากนี้ยังพบว่าสุนทรภู่ใช้ค าเอกโทษ โทโทษ จ านวนมากอาจ เป็นเพราะต้องการให้ได้ความหมายดังที่ต้องการส่วนการรักษารูปโคลงเป็นเพียงเรื่องรอง การเดินทาง ครั้งนี้เป็นเรื่องราวการออกเดินทางไปสุพรรณบุรี เพื่อหาแร่หรือที่ท่านเรียกว่าปรอท หรือปูนเพชร ซึ่งเชื่อว่าเป็นแร่ที่ท าให้กลายเป็นทองได้และมีอยู่ในจังหวัดสุพรรณบุรี ซึ่งถ้าพิจารณาถึงการแต่งหรือ การบันทึกที่เป็นรายวันในขณะเดินทางหรือเป็นการบันทึกหลังจากเดินทาง คงอาจพอสันนิฐานได้ว่า โคลงนิราศสุพรรณ สุนทรภู่น่าจะแต่งขึ้นหลังจากเสร็จสิ้นการเดินทางเพราะค าประพันธ์ประเภทโคลง แต่งยากกว่ากลอนนิราศหรือกลอนเพลงยาว และโคลงนิราศสุพรรณเป็นนิราศเพียงเรื่องเดียวที่ใช้. พักผ่อนเป็นระยะเวลายาวนาน หรืออาจเป็นการแต่งหลังจากสิ้นสุดการเดินทางครั้งนั้นเมื่อมีโอกาส เหมาะสม. 3.2.1.2 จุดมุ่งหมายของการเดินทางอาจมีหลายจุดประสงค์ ในวรรณกรรมการเดินทางไทยทั้งนิราศและจดหมายเหตุ การเดินทางที่ปรากฏในวรรณกรรมแต่ละครั้งผู้เดินทางย่อมแสดงให้ ไทยทั้งนิราศและจดหมายเหตุ การเดินทางที่ปรากฏในวรรณกรรมแต่ละครั้งผู้เดินทางย่อมแสดงให้. 2400 การเดินทางในครั้งนั้นหม่อมราโชทัยได้บันทึกจดหมายเหตุเรื่องทูตไทยไปประเทศอังกฤษ และนิราศ ลอนดอน ในวรรณกรรมการเดินทางทั้งสองเรื่องนี้เป็นการบันทึกเรื่องราวการเดินทางเพื่อกิจราชการ โดยเดินทางในฐานะล่ามของคณะราชทูตไทย แต่เนื้อหาการเดินทางแสดงให้เห็นว่านอกจากการ เดินทางเพื่อไปปฏิบัติกิจทางราชการแล้ว การเดินทางในครั้งนั้นยังถือว่าเป็นการเดินทางท่องเที่ยวของ หม่อมราโชทัยในต่างแดนจวบจนถึงประเทศอังกฤษ การเดินทางท าให้ได้พบเห็นสิ่งต่าง ๆ ที่แปลกใหม่. 165 “..ตามริมทางขายของเล่นของกินต่างๆ ดูสนุกนิ้สว่างแจ้งด้วยแสงไฟแคศ. 166 การเดินทางเพื่อส ารวจทรัพยากรของประเทศ การเดินทางเพื่อตรวจราชการบ้านเมือง และเป็นการ เดินทางท่องเที่ยวในคราวเดียวกัน. การเดินทางเพื่อค้นหายาอายุวัฒนะและปรอท” ในวรรณกรรมนิราศของสุนทรภู่. เดินทางไปวัดเจ้าฟ้าในคราวนี้ สมเด็จฯ กรมพระยาด ารงราชานุภาพ กล่าวว่า. หนังสือการเดินทางเพื่อค้นหายาอายุวัฒนะและสิ่งของล้ าค่าต่าง ๆ อาจออกมาในรูปแบบของมุขปาฐะ เพียงเท่านั้นจึงไม่แพร่หลายอย่างเช่นการเดินทางของสุนทรภู่. นามปรากฏต่อมาว่า พระมหาวิเชียรมณี ซึ่งการเดินทางในครั้งนี้พระราชสมบัติได้แต่งนิราศเกาะแก้ว กาลกัตตา เล่าเรื่องราวการเดินทาง. การที่พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวมีพระราชประสงค์ต้องการเพชรเม็ดใหญ่. 3.2.1.4 วรรณกรรมการเดินทางมักมีการให้รายละเอียดของการเดินทาง. ในวรรณกรรมการการเดินทางมักปรากฏการให้รายละเอียด เส้นทาง พาหนะ แผนที่. ไม่ปรากฏผู้แต่ง) โคลงนิราศพระประธม ของกรมหลวงวงษาธิราชสนิท และนิราศพระประธม ส านวนของสุนทรภู่ ซึ่งพบว่าเส้นทางที่กวีล่องเรือผ่านจากพระนครไปยังพระปฐมเจดีย์สามารถแบ่งได้.

Referensi

Dokumen terkait

GEALONE Engineer III 1 minute Prepare PR and cost estimate of the parts of the instrumentation and communication equipment 2 hours Purchase Request PR Review the specifications