• Tidak ada hasil yang ditemukan

การวิเคราะหขอมูลในการวิจัย

มาตรฐานค 6.3 มีความสามารถในการสื่อสารการสื่อความหมายทางคณิตศาสตร

2. การวิเคราะหขอมูลในการวิจัย

2.1 การเปรียบเทียบผลการเรียนรูเรื่องโจทยปญหาเศษสวนของนักเรียน ชั้น ประถมศึกษาปที่ 5 กอนและหลังจัดการเรียนรูดวยเทคนิค เค ดับเบิ้ลยู ดี แอล(K W D L)รวมกับ แนวคิดของวรรณี ใชการทดสอบคาที (t-test)แบบ Dependent

2.2 การแปลคาแบบสอบถามความคิดเห็นของนักเรียนที่มีตอการจัดการเรียนรู

ดวยเทคนิค เค ดับเบิ้ลยู ดี แอล (K W D L)รวมกับแนวคิดของวรรณี เรื่องโจทยปญหาเศษสวน ใชสถิติดังนี้

2.2.1 การแปลคาแบบสอบถามความคิดเห็น 3 ระดับ ใชคารอยละ (%) คา เฉลี่ย (X ) และสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D)

2.2.2 การแปลคาพรรณนาความคิดเห็นที่มีตอวิธีจัดการเรียนรูดวยเทคนิค เค ดับเบิ้ลยู ดี แอล (K W D L)รวมกับแนวคิดของวรรณี วิเคราะหขอมูลโดยใชการวิเคราะห

เนื้อหา (Content Analysis)

สรุป

การวิจัย เรื่อง การพัฒนาผลการเรียนรู เรื่องโจทยปญหาเศษสวน ของนักเรียน ชั้น ประถมศึกษาปที่ 5 โดยวิธีจัดการเรียนดวยเทคนิค เค ดับเบิ้ลยู ดี แอล (K W D L)รวมกับแนวคิด ของวรรณี เปนการวิจัยเชิงทดลอง (Experimental Research) แบบแผนการวิจัยแบบ One Group Pretest – Posttest Design กลุมตัวอยางที่ใชในการวิจัยคือ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่

5 /3 โรงเรียนอํานวยศิลปธนบุรี จํานวน 40 คน ผูวิจัยเก็บขอมูลดวยตนเอง จากนั้นนําขอมูล ทั้งหมดมาจัดระเบียบขอมูลโดยใชโปรแกรมสําเร็จรูป

การวิเคราะหขอมูล

การวิจัยครั้งนี้ เปนการพัฒนาผลการเรียนรู เรื่อง โจทยปญหาเศษสวน ของนักเรียน ชั้นประถมศึกษาปที่ 5 โดยวิธีจัดการเรียนรูดวยเทคนิค เค ดับเบิ้ลยู ดี แอล (KWDL) รวมกับ แนวคิดของวรรณี ผูวิจัยเก็บรวบรวมขอมูลโดยนําเครื่องมือที่ใชในการวิจัย ไดแก แผนการจัด การเรียนรู แบบทดสอบ แบบสอบถามความคิดเห็น ที่ผานการตรวจสอบของผูเชี่ยวชาญ จํานวน 3 คน นําไปทดลองใชกับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 5/1 จํานวน 3 แผนการเรียนรู

แลวนําไปทดลองใชกับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 5/3 โรงเรียนอํานวยศิลปธนบุรี สังกัด สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 3 จํานวน 40 คน ดวยการทดสอบ กอนเรียน จากนั้นดําเนินกิจกรรมการเรียนรูตามแผนการจัดการเรียนรู แลวจึงทดสอบ หลังเรียน และสอบถามความเห็นของนักเรียนกลุมทดลอง โดยใชแบบสอบถามความคิดเห็น เพื่อเปนการ ตอบวัตถุประสงคและขอคําถามในการวิจัย ผูวิจัยจึงขอเสนอผลการวิเคราะหขอมูล โดยแบงเปน 2 ขั้นตอน ดังนี้

ตอนที่ 1 การเปรียบเทียบผลการเรียนรู เรื่องโจทยปญหาเศษสวนของนักเรียน ชั้นประถมศึกษาปที่ 5 โดยวิธีจัดการเรียนรูดวยเทคนิค เค ดับเบิ้ลยู ดี แอล (K.W.D.L.) รวม กับแนวคิดของวรรณี

ตอนที่ 2 ความคิดเห็นของนักเรียนที่มีตอวิธีจัดการเรียนรูดวยเทคนิค เค ดับเบิ้ลยู

ดี แอล (KWDL) รวมกับแนวคิดของวรรณี ในดานบรรยากาศการเรียนรู ดานกิจกรรมการเรียนรู

และดานประโยชนที่ไดรับจากการเรียนรู

สําหรับรายละเอียดผลการวิเคราะหขอมูลในแตละตอน มีดังนี้

ตอนที่ 1 การเปรียบเทียบผลการเรียนรู เรื่องโจทยปญหาเศษสวน ของนักเรียนชั้นประถม ศึกษาปที่ 5 โดยวิธีจัดการเรียนรูดวยเทคนิค เค ดับเบิ้ลยู ดี แอล (KWDL) รวมกับแนวคิดของวรรณี

การวิเคราะหขอมูลเพื่อตอบคําถามการวิจัยขอที่ 1 ผลการเรียนรู เรื่องโจทยปญหา เศษสวนของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 5 กอนและหลังจัดการเรียนรูดวยเทคนิค เค ดับเบิ้ลยู

ดี แอล (KWDL) รวมกับแนวคิดของวรรณีแตกตางกันหรือไม ดังรายละเอียดในตารางที่ 12,13 ดังนี้

103

ตารางที่ 12 เปรียบเทียบผลการเรียนรู เรื่องโจทยปญหาเศษสวนของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 5 โดยวิธีจัดการเรียนรูดวยเทคนิค เค ดับเบิ้ลยู ดี แอล (K.W.D.L.) รวมกับแนวคิด ของวรรณี

การทดสอบ N คะแนนเต็ม X S.D. t - test Sig

กอนเรียน 40 40 17.75 5.97

หลังเรียน 40 40 27.45 4.73 -16.77 .000

จากตารางที่ 12 โดยภาพรวมพบวา ผลการเรียนรูเรื่อง โจทยปญหาเศษสวนของ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 5 โดยวิธีจัดการเรียนรูดวยเทคนิค เค ดับเบิ้ลยู ดี แอล (KWDL)รวม กับแนวคิดของวรรณี กอนและหลังเรียนแตกตางกัน อยางมีนัยสําคัญทางสถิติ ที่ระดับ .05 ซึ่ง ยอมรับสมมติฐานการวิจัย ที่กําหนดไวโดยมีคะแนนหลังเรียน (X = 27.45, S.D.= 4.73) สูง กวากอนเรียน (X = 17.75 , S.D.= 4.73)

ตารางที่13 คะแนนการทดสอบวัดผลการเรียนรูหลังเรียน เรื่องโจทยปญหาเศษสวน โดยวิธีจัดการ เรียนรูดวยเทคนิค เค ดับเบิ้ลยู ดี แอล (KWDL) รวมกับแนวคิดของวรรณี

เนื้อหาโจทย

ปญหาเศษสวน

จํานวน นักเรียน

คะแนน เต็ม

คะแนน เต็ม

คะแนนที่ได รอยละ ลําดับที่

1.การบวกและลบเศษสวน 40 16 640 453 70.78 1

2. การคูณเศษสวน 40 3 120 80 66.67 2

3. การหารเศษสวน 40 9 360 234 65.00 3

4. เศษสวนระคน 40 12 480 309 64.38 4

จากตารางที่ 13 พบวา ผลการเรียนรูหลังเรียน เรื่อง โจทยปญหาเศษสวน ของ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 5 โดยวิธีจัดการเรียนรูดวยเทคนิค เค ดับเบิ้ลยู ดี แอล (KWDL) รวมกับ แนวคิดของวรรณี เมื่อพิจารณาเปนรายเนื้อหา พบวา นักเรียนมีคะแนนวัดผลการเรียนรู

เรื่อง การบวกและการลบ เศษสวนมากเปนลําดับ 1 คิดเปนรอยละ 70.78 รองลงมา เรื่องการคูณ เศษสวน คิดเปนรอยละ 66.67 เรื่องการหาร เศษสวน คิดเปนรอยละ 65.00 และ ลําดับ สุดทายคือเรื่อง โจทยปญหาเศษสวน ระคน คิดเปน รอยละ 64.38

ตารางที่ 14 เปรียบเทียบคะแนน / ระดับผลการเรียนรู เรื่องโจทยปญหาเศษสวน ของนักเรียน ชั้น ประถมศึกษาปที่ 5 กอนและหลังการจัดการเรียนรูดวยเทคนิค เค ดับเบิ้ลยู ดี แอล รวมกับแนวคิดของวรรณี

การแกโจทยปญหาเศษสวน กอนเรียน

การแกโจทยปญหาเศษสวน หลังเรียน

ระดับ คะแนน

จํานวน รอยละ จํานวน รอยละ

สูงมาก ≥ 35 - - 4 10.00

สูง 30-34 1 2.50 9 22.50

ปานกลาง 25-29 4 10.00 14 35.00

ผาน 20-24 11 27.50 13 32.50

ปรับปรุง <20 24 60.00 - -

รวม 40 40 100.00 40 100.00

จากตารางที่14 พบวา ผลการเรียนรูเรื่องโจทยปญหาเศษสวน ของนักเรียนชั้น ประถมศึกษาปที่ 5 โดยวิธีจัดการเรียนรูดวยเทคนิค เค ดับเบิ้ลยู ดี แอล รวมกับแนวคิด ของวรรณี ของนักเรียนกลุมทดลอง แตกตางกันโดย กอนการจัดการเรียนรู มีนักเรียนจํานวน 40 คน มีผลการเรียนรู อยูในระดับตอง ปรับปรุง คือ มีคะแนนนอยกวา 20 คะแนน คิดเปนรอย ละ 60.00 และหลังการ จัดการเรียนรู นักเรียนทุกคนไดรับการพัฒนาผลการเรียนรูเรื่องโจทย

ปญหาเศษสวน โดยมีนักเรียนที่ไดรับการพัฒนาเปนระดับ ปานกลาง มากที่สุดจํานวน 14 คน คิดเปนรอยละ 35.00 รองลงมาคือ ไดรับการพัฒนาเปนระดับผานจํานวน 13 คน คิดเปนรอยละ 32.50 ไดรับการพัฒนาเปนระดับ สูง จํานวน 9 คน คิดเปน รอยละ 22.50 และไดรับการพัฒนา เปนระดับสูงมาก จํานวน 4 คน คิดเปนรอยละ10.00

ตอนที่ 2 ความคิดเห็นของนักเรียนที่มีตอวิธีจัดการเรียนรูดวยเทคนิค เค ดับเบิ้ลยู ดีแอล (KWDL) รวมกับแนวคิดของวรรณี ในดานบรรยากาศการเรียนรู ดานกิจกรรมการ เรียนรู และดานประโยชนที่ไดรับจากการเรียนรู

การวิเคราะหขอมูลเพื่อตอบคําถามของการวิจัยขอที่ 2 ความคิดเห็นของนักเรียนที่มี

ตอวิธี จัดการเรียนรูดวยเทคนิค เค ดับเบิ้ลยู ดี แอล รวมกับแนวคิดของวรรณี อยูในระดับใด และเปนอยางไร

2.1 ระดับความคิดเห็นโดยภาพรวมของนักเรียน ชั้นประถมศึกษาปที่ 5 ในดาน

บรรยากาศในการเรียนรู ดานกิจกรรมการเรียนรู และดานประโยชนที่ไดรับจากการจัด กิจกรรมการเรียนรู มีรายละเอียดดัง ตารางที่15 ,16,17,18 ดังนี้

ตารางที่ 15 ระดับความคิดเห็นของนักเรียน ชั้นประถมศึกษาปที่ 5 ที่มีตอวิธีจัดการเรียนรูดวยเทคนิค เค ดับเบิ้ลยู ดี แอล รวมกับแนวคิดของวรรณี

ความคิดเห็นที่มีตอวิธีจัดการเรียนรู X S.D. ระดับความคิดเห็น ลําดับที่

1. ดานบรรยากาศในการเรียนรู 2.78 0.42 เห็นดวยมาก 1

2. ดานการจัดกิจกรรมการเรียนรู 2.66 0.47 เห็นดวยมาก 3

3. ดานประโยชนที่ไดรับจากการจัดกิจกรรม 2.73 0.43 เห็นดวยมาก 2

รวม 2.72 0.44 เห็นดวยมาก

จากตารางที่15 ผลการวิเคราะหความคิดเห็นของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 5 ที่มีตอวิธีจัดการเรียนรูดวยเทคนิค เค ดับเบิ้ลยู ดี แอล นักเรียนเห็นดวยอยูในระดับมาก (X = 2.72 , S.D. = 0.44) เมื่อพิจารณาเปนรายดาน พบวา ลําดับที่ 1 นักเรียนเห็นดวยมาก ดาน บรรยากาศในการเรียนรู (X = 2.78 ,S.D. = 0.42) รองลงมา นักเรียนเห็นดวยมาก ดานประโยชน

ที่ไดรับจากการจัด กิจกรรม (X = 2.73 ,S.D. = 0.43) และนักเรียนเห็นดวยมากเปนลําดับสุดทาย คือ ดานการจัดกิจกรรมการเรียนรู (X = 2.66 ,S.D. = 0.47)

2.2 ระดับความคิดเห็นของนักเรียน ชั้นประถมศึกษาปที่ 5 ที่มีตอวิธีจัดการเรียนรู

ดวยเทคนิค เค ดับเบิ้ลยู ดี แอล (KWDL) รวมกับแนวคิดของวรรณี เมื่อพิจารณาเปนรายดาน ดังรายละเอียดใน ตาราง 16 ,17 และ18

ตารางที่16 ระดับความเห็นของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 5 ที่มีตอวิธีจัดการเรียนรูดวยเทคนิค เค ดับเบิ้ลยู ดี แอล รวมกับแนวคิดของวรรณี ดานบรรยากาศในการเรียนรู

ดานบรรยากาศในการเรียนรู X S.D. ระดับความคิดเห็น ลําดับที่

1. นักเรียนมีความกระตือรือรนในการทํา กิจกรรมตามขั้นตอนการแกโจทยปญหาดวย เทคนิคเค ดับเบิ้ลยู ดี แอล รวมกับแนวคิด ของวรรณี

2.80 0.16 เห็นดวยมาก 1

2. นักเรียนสนุกสนานและเรียนรูอยางมีความ สุข เมื่อไดเรียนรูดวยเทคนิคเค ดับเบิ้ลยู ดี

แอล รวมกับแนวคิดของวรรณี

2.78 0.18 เห็นดวยมาก 2

3. การเรียนรูดวยเทคนิคเค ดับเบิ้ลยู ดี

แอล รวมกับแนวคิดของวรรณี ทําใหนักเรียน อยากตอบปญหาในกิจกรรมการเรียนรู

2.75 0.19 เห็นดวยมาก 3

รวม 2.78 0.42 เห็นดวยมาก

จากตารางที่16 ผลการวิเคราะหความคิดเห็นของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 5 ที่มี

ตอวิธีจัดการเรียนรูดวยเทคนิค เค ดับเบิ้ลยู ดี แอล รวมกับแนวคิดของวรรณี ดานบรรยากาศ ในการเรียนรู โดยภาพรวมพบวา นักเรียนเห็นดวยมาก (X = 2.78,S.D. = 0.42) เมื่อพิจารณา เปนรายขอ พบวา นักเรียนเห็นดวยมากในทุกขอ ขอที่นักเรียนเห็นดวยมากเปนอันดับ 1 คือ นักเรียนมีความกระตือรือรนในการทํากิจกรรมตามขั้นตอนการแกโจทยปญหาดวยเทคนิค เค ดับเบิ้ลยู ดี แอล รวมกับแนวคิดของวรรณี (X = 2.80 ,S.D. = 0.16) ลําดับรองลงมาคือ นักเรียนสนุกสนานและเรียนรูอยางมีความสุข เมื่อไดเรียนรูดวยเทคนิคเค ดับเบิ้ลยู ดี แอล รวม กับแนวคิดของวรรณี (X = 2.78 , S.D. = 0.18) และลําดับสุดทายคือ การเรียนรูดวยเทคนิค เค ดับเบิ้ลยู ดี แอล รวมกับแนวคิดของวรรณี ทําใหนักเรียนอยากตอบปญหาในกิจกรรมการ เรียนรู ( X = 2.75 ,S.D. = 0.19)