• Tidak ada hasil yang ditemukan

เฉลยแบบทดสอบประจําหนวยที่ 1

1. แมซื้อไก

2

1 กิโลกรัม ซื้อปลา

4

3 กิโลกรัม แมซื้อของทั้งสองอยางหนักกี่กิโลกรัม ประโยคสัญลักษณ (วิธีแกปญหา)

2 1 +

4 3 = … วิธีทํา แมซื้อไก

2

1 กิโลกรัม ซื้อปลา

4

3 กิโลกรัม

2 1 +

4 3 = (

2 1

2 2

×

× ) +

4

3 กิโลกรัม = 4

3

+

4

3 กิโลกรัม = 4

6 = 1

2

1 กิโลกรัม ดังนั้นแมซื้อของทั้งสองอยางหนัก 1

2

1 กิโลกรัม ตอบ 1

2

1 กิโลกรัม 2. วงกลมสีแดงมีรัศมียาว

8

5 เมตร วงกลมสีฟามีรัศมียาว

4

3 เมตร รัศมีของวงกลมทั้งสอง ยาวตางกันอยางไร

ประโยคสัญลักษณ (วิธีแกปญหา)

8 5 -

4 3 = … วิธีทํา วงกลมสีแดงมีรัศมียาว

8 5 เมตร วงกลมสีฟามีรัศมียาว

4 3 เมตร

4 3 -

8 5 = (

4 3

2 2

×

× ) -

8 5 เมตร = 8

6

-

8

5 เมตร = 8

1 เมตร ดังนั้น รัศมีของวงกลมทั้งสองยาวเทากัน

8 1 เมตร ตอบ

8 1 เมตร

แผนการจัดการเรียนรูที่ 2

กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร ชั้นประถมศึกษาปที่ 5

เรื่อง โจทยปญหาการคูณเศษสวน เวลา 3 ชั่วโมง

มาตรฐาน ค 6.1 , ค 6.2 , ค 6.3 , ค 6.4 , ค 6.5 สาระสําคัญ

โจทยปญหาการคูณเศษสวน คือ โจทยปญหาทางคณิตศาสตรที่เปนขอความและจํานวน เศษสวน ซึ่งตองใชการวิเคราะหหาความสัมพันธของขอมูลที่จําเปนตอการแกโจทย และคิดหาวิธี

แกดวยการคูณ พรอมทั้งคิดคํานวณหาคําตอบ และสามารถตรวจสอบคําตอบได

ผลการเรียนรูที่คาดหวัง

1. เมื่อกําหนดโจทยปญหาการคูณเศษสวน สามารถวิเคราะหโจทยหาคําตอบและแสดง วิธีทําพรอมทั้งตระหนักถึงความสมเหตุสมผลของคําตอบที่หาได

2. ใชภาษาและสัญลักษณทางคณิตศาสตร ในการสื่อสารสื่อความหมายและนําเสนออยาง ถูกตองและเหมาะสม

จุดประสงคการเรียนรู

1. บอกความหมายของโจทยปญหาการคูณเศษสวนได

2. สามารถแสดงขั้นตอน วิธีการแกโจทยปญหาการคูณเศษสวนได

3. เมื่อกําหนดโจทยปญหา สามารถแสดงในรูปประโยคสัญลักษณและแสดงวิธีทําได

4.สามารถสรางโจทยปญหาการคูณเศษสวนจากเงื่อนไขที่กําหนดใหพรอมทั้งแสดงวิธีทําและ หาคําตอบไดอยางถูกตองและสมเหตุสมผล

สาระการเรียนรู

โจทยปญหาการคูณเศษสวนเปนโจทยปญหาที่แกดวยการใชหลักการคูณเศษสวนคือ การหา จํานวนสมาชิกทั้งหมด เมื่อทราบจํานวนกลุมและจํานวนสมาชิกในแตละกลุม ซึ่งตองอานโจทย

วิเคราะหโจทย หาทางแก คิดคํานวณและตรวจสอบคําตอบ กิจกรรมการเรียนรู

ขั้นนําและทบทวนบทเรียน

1. ครูนําเขาสูบทเรียนโดยการใหนักเรียนนั่งสมาธิ

2. ครูทบทวนบทเรียน เรื่องการคูณเศษสวน โดยครูแจกแผนเกม “ลูกนก หลงรัง” ให

กลุมละ 1 แผน เพื่อใหนักเรียนหาคําตอบและระบายสีใหตรงกับคําตอบของประโยคสัญลักษณ

ที่กําหนด กลุมใดเสร็จกอนใหนําภาพไปติดที่กระดาน เพื่อนรวมกันตรวจสอบความถูกตอง 3. ครูแจงจุดประสงคใหนักเรียนทราบ

4. ใหนักเรียนรวมกันรองเพลง “การคูณเศษสวน” จากนั้นครูตั้งคําถาม ใหนักเรียนรวม กันจับใจความสําคัญจากเพลง

ขั้นสอนเนื้อหาใหม

1. ครูนําเสนอสถานการณโจทยปญหาการคูณเศษสวน พรอมทั้งรวมกันอภิปรายถึง ความหมายและหลักการแกโจทยปญหา จากนั้นใหนักเรียนรวมกันอาน เชน

ครูถามคําถามใหนักเรียนรวมกันวิเคราะหโจทยดวยวิธีการที่หลากหลายโดยครูเขียน ขอมูลลงในตาราง KWDL ที่ติดไวบนกระดานดังนี้

- สิ่งที่โจทยบอกใหทราบมีอะไรบาง (การระดมสมอง) โดยครูเขียนขอมูลที่

นักเรียนบอกลงในตาราง KWDL ชอง K

- สิ่งที่โจทยตองการทราบคืออะไร และมีวิธีการแกปญหาอยางไร (การ อภิปราย) ครูเขียนขอมูลที่นักเรียนบอกลงในแผนผัง KWDL ชอง W

- นักเรียนจะดําเนินการแกปญหาตามวิธีการที่เลือกไวไดอยางไรบาง (การ ดําเนินการ) ครูเขียนประโยคสัญลักษณ และแสดงวิธีการหาคําตอบ พรอมทั้งตรวจคําตอบ ตาม ที่นักเรียนรวมกันตอบลงในตาราง KWDL ชอง D

- นักเรียนไดเรียนรูอะไรจากการแกปญหา และมีขั้นตอนการแกปญหาอยางไร (การนําเสนอ) ครูสุมนักเรียนออกมาอธิบายขั้นตอนการแกปญหาและเหตุผลที่เลือกใชวิธีการแก

ปญหาดังกลาว แลวตอบลงในตาราง KWDL ชอง L ขั้นฝกทักษะและการนําไปใช

1. ครูแบงกลุมออกเปนกลุม กลุมละ 4-5 คน โดยใชกลุมเดิมจากที่เรียนในชั่วโมงที่

แลวใหแตละกลุมรวมกันศึกษาและปฏิบัติตามบัตรกิจกรรม K W D L ที่ 2 2. นักเรียนกลุมเดิมรวมกันศึกษาและปฏิบัติตามใบงานที่ 2

3. ครูสุมตัวแทนนักเรียนออกมานําเสนอวิธีการแกปญหา ที่กลุมตนเองเลือกใชในใบ งานที่ 2

4. ครูแนะนําใหนักเรียนแตละกลุมสรางโจทยปญหาการบวกลบเศษสวนลงในบัตรขนาด 6x3นิ้วมาแลกเปลี่ยนกันดูระหวางกลุม เพื่อเปนการตรวจสอบความถูกตองและความเขาใจ

5. นักเรียนแตละคนฝกปฏิบัติตามใบงานที่ 2.1 ลูกไกเลาหนึ่งมีลูกไกตัวเมียคิดเปน

5

2 ของลูกไกทั้งหมด ถาลูกไกทั้งหมดมี

15 ตัว จะเปนลูกไกตัวเมียกี่ตัว

ขั้นสรุป

1. นักเรียนและครูรวมกันสนทนาถึงประโยชนและคุณคาของบทเรียนที่เรียน 2. นักเรียนและครูรวมกันสรุปความหมายและหลักการแกโจทยปญหาการคูณคือ ตอง หาจํานวนสมาชิกทั้งหมด เมื่อทราบจํานวนกลุมและจํานวนสมาชิกในแตละกลุม โดยตองอาน โจทย วิเคราะหโจทย หาทางแก คิดคํานวณและตรวจสอบคําตอบ

3. กลาวชมเชย และใหรางวัลเมื่อนักเรียนปฏิบัติไดถูกตอง ขั้นประเมินผล

1. นักเรียนแตละคน ทําแบบทดสอบประจําหนวยที่ 2 โดยไมมีการชวยเหลือกัน 2. นักเรียนและครูรวมกันอภิปรายถึงสิ่งที่ไดจากการเรียนรูรวมกันพรอมทั้งเสนอแนวทาง ในการพัฒนาปรับปรุงกระบวนการเรียนรูครั้งตอไป

สื่อการเรียนรู

1. แผนเกม “ลูกนกหลงรัง”

2. เพลง “การคูณเศษสวน”

3. แถบสถานการณ โจทยปญหาการคูณเศษสวน 4. ตาราง KWDL

5. บัตรกิจกรรม KWDL ที่ 2 6. ใบงาน 2 , 2.1

การวัดผลประเมินผล

1. วิธีการวัดผลประเมินผล - สังเกตการรวมกิจกรรม

- ตรวจแบบทดสอบประจําหนวยที่ 2 - ตรวจใบงาน 2 , 2.1

- ตรวจผลงานกลุม (บัตรกิจกรรม KWDL ที่ 2) 2. เกณฑการวัดผลประเมินผล

- การตรวจแบบทดสอบ ผานเกณฑรอยละ 70 - ตรวจใบงานผานเกณฑในระดับดี

3. เครื่องมือในการวัดผลประเมินผล - แบบทดสอบประจําหนวยที่ 2 - แบบประเมินการปฏิบัติกิจกรรมกลุม

บันทึกผลหลังเรียนรู

ผลที่เกิดกับผูเรียน

การปฏิบัติกิจกรรมการแกปญหาตามขั้นตอนการจัดกิจกรรมการเรียนรูดวยเทคนิคเคดับเบิ้ล ยูดีแอลรวมกับแนวคิดของวรรณี นักเรียนปฏิบัติกิจกรรมไดชา และปฏิบัติกิจกรรมไดไมดีนัก เนื่องจากนักเรียนขาดพื้นฐานและการฝกฝนการคิด วิเคราะหมาตั้งแตตน นักเรียนจึงไมสามารถ คิดวิเคราะหอยางเปนขั้นตอนไดผลอยางเต็มที่ ในเวลากําหนด

ปญหา/อุปสรรค

เนื่องจากนักเรียนยังไมเคยชินกับการวิเคราะหโจทยตามลําดับขั้น ไมกลาแสดงความคิดเห็น และไมชวยเหลือกันในบางกลุม จึงทําใหตองใชเวลาในการวิเคราะหพอสมควร แตทั้งนี้นักเรียน สวนใหญก็สามารถแกปญหาโจทยได และดีกวาการเรียนรูในแผนที่ 1

ขอเสนอแนะ/วิธีแกไข

คอยดูแลใหคําแนะนํา นักเรียนในการฝกแสดงความคิดเห็นและกลาแสดงออกอยาง ใกลชิด และเมื่อนักเรียนทําไดครูคอยชมเชย สม่ําเสมอ

ลงชื่อ...

(นางสาวสุภาภรณ ทองใส) ตําแหนง...

วันที่...เดือน... พ.ศ...

เ กมลูกนกหลงรัง

ใหนักเรียนหาคําตอบจากประโยคสัญลักษณตอไปนี้

แลวระบายสีใหตรงกับคําตอบลูกนกแตละตัว

1. 4

×

5

3

= สีแดง 2.

8

2 ×

5

1

= สีชมพู

3.

5

4

x10 = สีฟา 4.

5

2 ×

3

1

= สีเหลือง 5.

7

2 ×

14