• Tidak ada hasil yang ditemukan

ทดสอบกอนเรียน

มาตรฐานค 6.3 มีความสามารถในการสื่อสารการสื่อความหมายทางคณิตศาสตร

3. ทดสอบกอนเรียน

4. ทดสอบเนื้อหาซึ่งเปนพื้นฐานความรูกอนที่จะทําการสอนเนื้อหาใหม

5. สอนใหสนุกสนาน มีความเปนกันเองกับนักเรียน

6 .สงเสริมใหนักเรียนมีความกลาแสดงออกในการอภิปรายรวมกันยอมรับฟงความ คิดเห็นของผูอื่น มีความเปนผูนําและผูตามที่ดี สามารถทํางานรวมกับผูอื่นได

7. สงเสริมใหนักเรียนคนควาปฏิบัติดวยตนเองตามกิจกรรมที่ปรากฏในแผนการสอน คนควาเพิ่มเติมในแหลงเรียนรูตางๆ สามารถแกปญหาดวยตนเองอยางมีประสิทธิภาพ

8. กระตุนใหนักเรียนคนพบความคิดรวบยอดและหลักการตางๆ ไดดวยตนเอง เพลินจิต คนขยัน อาจารย 2 ระดับ 7 ครูตนแบบวิชาคณิตศาสตร พ.ศ. 2541 สอน ระดับประถมศึกษา โรงเรียนบานน้ําเที่ยงวันครู 2501 อําเภอคําชะอี จังหวัดมุกดาหาร (สํานักงาน คณะกรรมการการศึกษาแหงชาติ 2542ก: 11 – 15) จัดการสอนแบบเรียนปนเลน ขั้นตอนการสอน แบบเรียนปนเลนคือ

1. ขั้นเตรียมการ คือ ครูตองเตรียมการสอนตามที่หลักสูตรกําหนดไวแลว เลือก วิธีการสอนวาจะสอนอยางไรจึงจะทําใหผูเรียนสนใจบทเรียนและสนุกสนาน จัดเตรียมการเลนเกม รองเพลง หรือแขงขันจากการตอบปญหา แตที่สําคัญจะตองตรงกับจุดประสงคในการสอนใน แตละครั้ง

2. ขั้นสอน คือเมื่อครูเตรียมงานและชี้แจงใหนักเรียนทราบครูใชคําถามนําในการสอน เพื่อใหนักเรียนสนใจบทเรียน มีการแบงกลุม นําผลแตละกลุมออกรายงานหนาชั้นเรียน

3. ขั้นสรุป คือ เปนขั้นที่นักเรียนชวยกันสรุปความคิดรวบยอดที่ไดจากการปฏิบัติ

จากการอภิปรายกลุม จากการแขงขัน จากการเลนเกม จากการทําแบบฝกหัด หรือจากการรองเพลง การประเมินผลผูเรียน เปนขั้นที่นักเรียนเสร็จสิ้นการปฏิบัติกิจกรรมและชวยกันสรุป ประเด็นที่ไดจากการเรียน จากการเลนเกม การรองเพลง ซึ่งมีความสัมพันธกับบทเรียน จากการ แขงขันกลุมและจากการทําแบบทดสอบ เพื่อใหครูผูสอนไดรับรูขอบกพรองและทําการปรับปรุง แกไขในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนตอไป

มานัส ปรีมนวงศ อาจารย2 ระดับ 7 ครูตนแบบวิชาคณิตศาสตร พ.ศ. 2541 สอน ระดับประถมศึกษา (ขยายโอกาส) โรงเรียนฉิมพลีวิทยา อําเภอเมือง จังหวัดชัยภูมิ (สํานักงาน คณะกรรมการการศึกษาแหงชาติ 2542ก: 17 – 21 ) จัดการสอนแบบ รวม – แยก – รวมซึ่งมี

ขั้นตอนดังนี้

1. เรียนรวมกันทั้งชั้นในตอนตนชั่วโมงใชเวลาประมาณ 1 นาที เพื่อฟงคําแนะนํา เบื้องตนเกี่ยวกับกิกจรรมที่จะทํา

2. แยกเปนกลมยอยเพื่อปฏิบัติตามใบงานหรือกิจกรรมที่กําหนดใหภายในกลุมยอย ซึ่งอาจจะเปนการอภิปรายกลุม

3. ระดมสมองเพื่อแกปญหาหรือทํางานรวมกัน ซึ่งอาจจะใหเวลาประมาณ 20 นาที

4. สงตัวแทนของแตละกลุมออกมารายงานผลการปฏิบัติกิจกรรมใหทุกคนได

รับทราบ กลุมละประมาณ 5 นาที รวม 20 นาที

5. ครูสรุปเพิ่มเติม เพื่อใหเกิดความสมบูรณถูกตองขั้นประมาณ 10 นาที รวมเปน เวลาทั้งสิ้น 1 ชั่วโมง

ถนอมเกียรติ งามสกุล (อางถึงใน สุพิชฌาย แสงลี 2545: 69) ครูแหงชาติป 2542 สาขาคณิตศาสตรโรงเรียนเมืองถลาง อําเภอถลาง จังหวัดภูเก็ต สํานักงานคณะกรรมการการ ศึกษาเอกชน มีวิธีการจัดการเรียนการสอน ดังนี้

1. เนนผูเรียนเปนศูนยกลาง โดยใหผูเรียนปฏิบัติกิจกรรม เพื่อสรุปมโนคติไดดวย ตนเองเนนกระบวนการคิดและยุทธวิธีการคิดอยางหลากหลาย

2. การใชสื่อการเรียนการสอนที่ทันสมัยและนาสนใจทําใหนักเรียนกระตือรือรนใน การเรียน สามารถลดการสอนของครู ทําใหนักเรียนมีเวลาปฏิบัติกิจกรรมการเรียนเพิ่มมากขึ้น ไดแก การใชเครื่องคิดเลขกราฟก การใชสื่อแผนโปรงใสในการสรุปสาระสําคัญ การผลิตชุด กิจกรรม การใชเพลงและเกมประกอบการเรียนการสอน

3. การจัดบรรยากาศการเรียนรูที่ดี โดยจัดใหมีหองปฏิบัติการคณิตศาสตร สําหรับ ใชจัดกิจกรรมการเรียนการสอน และการใหความเปนกันเองกับนักเรียน ชวยใหนักเรียน เรียน คณิตศาสตรอยางมีความสุข

4. การประเมินผลโดยใชแฟมสะสมผลงาน (Portfolio) เนนกระบวนการเรียนการ สอนควบคูกับการวัดและประเมินผล มุงใหนักเรียนชื่นชมผลงานของตนเอง

5. จัดกิจกรรมเสริมคณิตศาสตรทั้งในและนอกหองเรียน เพื่อปลูกฝงใหนักเรียนมี

เจตคติที่ดีตอวิชาคณิตศาสตร ใชเวลาวางเพื่อศึกษาคณิตศาสตรแงมุมที่นักเรียนสนใจ โดยครูเปน เพียงผูชี้แนะ

นอกจากวิธีสอนตางๆ ที่กลาวมาขางตนนั้น ยังมีวิธีการสอนวิชาคณิตศาสตรไดอยาง มากมาย อีกหลายวิธีดวยกัน ซึ่งแตละวิธียอมมีทั้งจุดเดนและจุดดอยที่อาจจะแตกตางกันหรือ เหมือนกันซึ่งแลวแตการนําไปประยุกตใชใหเกิดผลดีที่สุด ในการแกปญหาที่เกิดขึ้นกับผูเรียนไป ตามสภาพของสิ่งแวดลอม เนื้อหา นักเรียน และตัวครูผูสอน ที่จะเลือกวิธีการใดหรือจะมีการ ประยุกตใชวิธีการใดในการที่จะทําใหการเรียนการสอนในเรื่องตางๆนั้นประสบผลสําเร็จมากที่สุด กับผูเรียน

เทคนิค เค ดับเบิ้ลยู ดี เอล ( K W D L)

เทคนิค K W D L ไดพัฒนาขึ้นจากเทคนิค K W L ของ Ogle ในป ค.ศ. 1986 และ ตอมาไดมีการพัฒนาใหสมบูรณขึ้น โดย Carr และ Ogle ในปถัดมา (1987) โดยยังคงสาระเดิมไว

แตเพิ่มการเขียนผังสัมพันธทางความหมาย (Semantic Mapping) สรุปเรื่องที่อาน และมีการ นําเสนอ เรื่องจาก ผังสัมพันธทางความหมาย เปนการพัฒนาทักษะการเขียนและพูด นอกเหนือไป จากทักษะการฟง และการอาน โดยมีวัตถุประสงคการสอนเพื่อสอนภาษา แตสามารถนํามา ประยุกตใชในการเรียนวิชาอื่นๆ ที่มีการอานเพื่อทําความเขาใจ เชน วิชาสังคมศึกษา วิทยาศาสตร

คณิตศาสตร เปนตน เพราะวา ผูเรียนจะไดรับการฝกใหตระหนักในกระบวนการทําความเขาใจ

ตนเอง มีการวางแผน ตั้งจุดมุงหมายตรวจสอบความเขาใจในตนเอง มีการจัดระบบขอมูล เพื่อการ ดึงมาใชภายหลังไดอยางมีประสิทธิภาพ จึงมีประโยชนในการฝกทักษะการอาน คิดวิเคราะห เขียน สรุป และนําเสนอ โดยมีขั้นตอนการจัดกิจกรรม 4 ขั้นตอน ดังนี้

ขั้นที่ 1 K (What we know) นักเรียนรูอะไรบางในเรื่องที่จะเรียนหรือสิ่งที่โจทยบอก ใหทราบมีอะไรบาง

ขั้นที่ 2 W (What we want to know) นักเรียนหาสิ่งที่โจทยตองการทราบ

ขั้นที่ 3 D (What we do to find out) นักเรียนจะตองทําอะไรบางเพื่อหาคําตอบ ตามที่โจทยตองการ

ขั้นที่ 4 L (What we leamed) นักเรียนสรุปสิ่งที่ไดเรียนรู

ตอมา ซอและคณะ (Shaw and others,1997) อาจารยประจํามหาวิทยาลัยมิสซิส ซิปป ประเทศสหรัฐอเมริกา ไดนําเทคนิค K W D L มาใชสอนในวิชาคณิตศาสตร โดยมีขั้นตอน การเรียนการสอน 4 ขั้นตอน ดังนี้

ขั้นตอนที่ 1 แบงกลุมนักเรียนชวยกันหาสิ่งที่รูเกี่ยวกับโจทย สิ่งที่โจทยกําหนดใหและ สิ่งที่โจทยตองการทราบ โดยใชบัตรกิจกรรมเทคนิคการสอน เค ดับเบิ้ลยู ดี เอล (K W D L)

ขั้นตอนที่ 2 นักเรียนในกลุมรวมกันอภิปราย เพื่อหาสิ่งที่ตองการรูเพิ่มเติมเกี่ยวกับ โจทยหาความสัมพันธของโจทยและกําหนดวิธีการในการแกปญหา

ขั้นตอนที่ 3 นักเรียนชวยกันดําเนินการเพื่อแกโจทยปญหา โดยเขียนโจทยปญหาให

อยูในรูปของประโยคสัญลักษณ หาคําตอบและตรวจสอบคําตอบ

ขั้นตอนที่ 4 ใหนักเรียนแตละกลุมสรุปเปนความรูที่ไดรับจากการแกโจทยปญหาโดย ใหตัวแทนกลุมออกมานําเสนอความคิดในการแกโจทยปญหาและสรุปเปนความรูที่ไดจากการเรียน

วีระศักดิ์ เลิศโสภา (2544:6) ไดนําเทคนิค เค ดับเบิ้ลยู ดี เอล (K W D L) มาใชใน การสอนการแกโจทยปญหาคณิตศาสตรดวยการปรับรูปแบบการเรียนการสอนและการจัด กิจกรรมให เหมาะสมกับกระบวนการแกโจทยปญหา ซึ่งมี 4 ขั้นตอน ดังนี้

ขั้นตอนที่ 1 ขั้นนําเขาสูบทเรียน ทบทวนความรูเดิมโดยการนําเสนอสถานการณของ โจทยปญหาหรือเกมคณิตศาสตร

ขั้นตอนที่ 2 ขั้นดําเนินการสอน โดยใชเทคนิคการสอน เค ดับเบิ้ลยู ดีเอล (K W D L) ในการสอนแกโจทยปญหา ซึ่งประกอบดวย 4 ขั้นตอน คือ

1) หาสิ่งที่รูเกี่ยวกับโจทย แบงกลุมนักเรียนชชวยกันหาสิ่งที่รูเกี่ยวกับโจทยสิ่งที่

โจทยกําหนด และสิ่งที่โจทยตองการทราบ โดยใชบัตรกิจกรรมเทคนิคการสอนเค ดับเบิ้ลยู ดีเอล (K W D L)

2) หาสิ่งที่ตองการรูเกี่ยวกับโจทยเพิ่มเติม นักเรียนในกลุมรวมกันอภิปรายเพื่อ หาสิ่งที่ตองการรูเพิ่มเติมเกี่ยวกับโจทยหาความสัมพันธของโจทย และกําหนดวิธีการในการ แกปญหา

3) ดําเนินการแกโจทยปญหา นักเรียนชวยกันดําเนินการเพื่อแกโจทยปญหา โดย เขียนโจทยปญหาใหอยูในรูปของประโยคสัญลักษณ หาคําตอบและตรวจคําตอบ

4) สรุปสิ่งที่ไดจากการเรียน ใหนักเรียนแตละกลุมสรุปเปนความรูที่รับจากการ แกโจทยปญหา โดยใหตัวแทนกลุมออกมานําเสนอความคิดในการแกโจทยปญหา และสรุปเปน ความรูที่ไดจากการเรียน

ขั้นตอนที่ 3 ขั้นฝกทักษะ นักเรียนทําแบบฝกหัดในหนังสือเรียนคณิตศาสตร

ขั้นตอนที่ 4 ขั้นวัดและประเมินผล โดยครูสังเกตการรวมกิจกรรม ตรวจผลงานกลุม และแบบฝกหัด

เทคนิค เค ดับเบิ้ลยู ดีเอล (K W D L) เปนเทคนิคการสอนที่เนนผูเรียนไดฝกคิด วิเคราะห โจทยปญหาไดอยางหลากหลายตามขั้นตอนการสอน และสามารถหาวิธีการแกปญหาที่

ดีที่สุดพรอมใหเหตุผลประกอบไดอยางชัดเจน รวมทั้งผูเรียนสามารถทํางานรวมกับผูอื่นไดอยางมี

ประสิทธิภาพ รูจักหนาที่ ความรับผิดชอบ เพื่อใหกลุมของตนเองประสบความสําเร็จ การจัดการเรียนรูแบบวรรณี

เมื่อปพ.ศ.2506 วรรณี โสมประยูร ภาควิชาหลักสูตรและการสอน คณะ ศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร ไดคิดริเริ่มวิธีการสอนคณิตศาสตรรูป แบบใหมขึ้นใชทดลองสอนขณะที่เปนนิสิตฝกสอนที่โรงเรียนวัดโสมนัสวรมหาวิหาร ตอมาในป

พ.ศ.2510 เขียนแผนภูมิรูปแบบการสอนคณิตศาสตรขึ้นไวเปนหลักฐานครั้งแรก ขณะเปนครูอยูที่

โรงเรียนดาราคามของกรมสามัญศึกษา และไดมีการปรับปรุงและพัฒนาเรื่อยๆมา จนกระทั่ง พ.ศ.2535 เปนรูปแบบการสอนที่ไดปรับปรุงและพัฒนาอยางสมบูรณที่สุดที่ใชอยูทั่วไปในปจจุบัน ซึ่งเปนวิธีสอนคณิตศาสตรในระดับประถม ที่มุงเนนใหเกิดผลการเรียนรูทุกๆดานในลักษณะ ผสมผสานหรือบูรณาการ โดยนําเอาหลักปรัชญา จิตวิทยา ทฤษฎีการเรียนและนวัตกรรม มาผสม ผสานเปนกระบวนการจัดการเรียนการสอนที่ประกอบดวยกระบวนการสอน 8 ขั้นตอน ซึ่งสัมพันธ