• Tidak ada hasil yang ditemukan

นักเรียนสามารถนําขั้นตอนการแก

มาตรฐานค 6.3 มีความสามารถในการสื่อสารการสื่อความหมายทางคณิตศาสตร

3. นักเรียนสามารถนําขั้นตอนการแก

ปญหาของกิจกรรมการเรียนรู ไปใชในการ เรียนรูสาระการเรียนรูอื่น ๆ ได

2.75 0.44 เห็นดวยมาก 3

4. การแกปญหาดวยเทคนิค เค ดับเบิ้ลยู

ดี แอล รวมกับแนวคิดของวรรณี ทําให

นักเรียนเห็นคุณคาและประโยชนของการ เรียนคณิตศาสตรมากขึ้น

2.77 0.42 เห็นดวยมาก 2

รวม 2.73 0.43 เห็นดวยมาก

จากตารางที่18 ผลการวิเคราะหความคิดเห็นของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 5 ที่มี

ตอวิธีจัดการเรียนรูดวยเทคนิค เค ดับเบิ้ลยู ดี แอล รวมกับแนวคิดของวรรณี ดานการจัด กิจกรรมการเรียนรู โดยภาพรวมพบวา นักเรียนเห็นดวยมาก (X = 2.73 , S.D. = 0.43) เมื่อ พิจารณาเปนรายขอ พบวา นักเรียนเห็นดวยมากทุกขอ ขอที่เห็นดวยมากเปนอันดับที่ 1 คือ นักเรียนไดฝกคิดอยางเปนลําดับขั้นตอน (X = 2.83 ,S.D. = 0.39) อันดับที่ 2 คือการแกปญหา ดวยเทคนิค เค ดับเบิ้ลยู ดี แอล รวมกับแนวคิดของวรรณี ทําใหนักเรียนเห็นคุณคาและ ประโยชนของการเรียนคณิตศาสตรมากขึ้น (X = 2.77 ,S.D. = 0.42) อันดับที่ 3 คือนักเรียน สามารถนําขั้นตอนการ แกปญหาของกิจกรรมการเรียนรู ไปใชในการเรียนรูสาระการเรียนรูอื่น ๆ ได (X = 2.75 ,S.D. = 0.44) และอันดับสุดทาย คือ นักเรียนสามารถแกโจทยปญหา คณิตศาสตรไดในเวลาที่กําหนดให (X = 2.60 ,S.D. = 0.50)

นอกจากนี้ นักเรียนไดตอบคําถามปลายเปดโดยแสดงความคิดเห็น วา ควรเพิ่มเวลา ในการทํากิจกรรมใหมากกวานี้ควร มีตารางที่โตกวานี้จะไดไมตองเขียนออกนอกตาราง และควร สอนเพิ่มเติมเกี่ยวกับ เทคนิคการสอนนี้ในเรื่องอื่นๆบาง

ขอสังเกต การปฏิบัติกิจกรรมกลุมโดยวิธีจัดการเรียนรูดวยเทคนิค เคดับเบิ้ลยูดีแอล KWDL รวมกับแนวคิดของวรรณี

จากการสังเกตการปฏิบัติกิจกรรมกลุมจากแบบประเมินการปฏิบัติกิจกรรมกลุม ซึ่งมี

การประเมิน 2 ครั้ง คือ ทายแผนการจัดการเรียนรูที่ 3 และทายแผนการจัดการเรียนรูที่ 5 มี

รายละเอียดดังนี้

การประเมินครั้งที่ 1 ทายแผนการจัดการเรียนรูที่ 3 พบวา โดยภาพรวมนักเรียน ทุกกลุมปฏิบัติ กิจกรรมกลุมอยูในเกณฑพอใช โดยที่นักเรียนมีสามารถปฏิบัติกิจกรรมไดตาม เวลาที่กําหนด ผลงานสะอาดเรียบรอย มีความตั้งใจและมีสวนรวม ทั้งยังสามารถทํางานไดถูกตอง ครบถวนทุกขั้นตอน

การประเมินครั้งที่ 2 ทายแผนการจัดการเรียนรูที่ 5 พบวา โดยภาพรวมนักเรียน ทุกกลุมมีการปฏิบัติกิจกรรมกลุมอยูในเกณฑดี โดยที่นักเรียนมีความตั้งใจในการปฏิบัติ กิจกรรม ทํางานสงตรงตอเวลาและผลงานสะอาดเรียบรอย มีสวนรวมในการปฏิบัติกิจกรรม อีกทั้งยัง สามารถนําเสนอผลงานดวยวิธีการที่ถูกตอง และเปนขั้นตอนที่ที่ถูกตอง

ขอสังเกตที่ไดมาจากการบันทึกพฤติกรรมการเรียนรูของนักเรียนทายแผน

จากบันทึกการสังเกตพฤติกรรมการเรียนรูของนักเรียน ผูวิจัยพบขอสังเกตดังนี้

1. นักเรียนบางคนมีปญหาการเขากลุมและการทํางานรวมกับผูอื่น 2. การปฏิบัติกิจกรรมการแกปญหาตามขั้นตอนไดชา

3. นักเรียนมีความสนุกสนานเพลิดเพลินกับการรองเพลง การเลนเกมตาง ๆ 4. การปฏิบัติกิจกรรมนั่งสมาธิกอนเรียน ทําใหนักเรียนมีจิตใจสงบเกิดสมาธิในการเรียนรู

5. นักเรียนมี ปฏิสัมพันธกับครูและเพื่อน ๆ มากยิ่งขึ้นกวาเดิม

สรุปผล อภิปรายผลและขอเสนอแนะ

การวิจัยเรื่อง การพัฒนาผลการเรียนรู เรื่อง โจทยปญหาเศษสวนของนักเรียนชั้น ประถมศึกษาปที่ 5 โดยวิธีจัดการเรียนรูดวย เทคนิค เคดับเบิ้ลยู ดี แอล (KWDL) รวมกับแนวคิด ของวรรณี มีวัตถุประสงคการวิจัยเพื่อเปรียบเทียบผลการเรียนรู เรื่องโจทยปญหาเศษสวนของ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 5 กอนและหลังจัดการเรียนรูดวยเทคนิคเค ดับเบิ้ลยู ดี แอล (KWDL) รวมกับแนวคิดของวรรณี และเพื่อศึกษาความคิดเห็นของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่

5 ที่มีตอวิธีจัดการเรียนรูดวยเทคนิคเค ดับเบิ้ลยู ดี แอล (KWDL) รวมกับแนวคิดของวรรณี กลุม ตัวอยางที่ใชในการวิจัยครั้งนี้ไดแก นักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 5 โรงเรียนอํานวยศิลปธนบุรี

สังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 3 กรุงเทพมหานคร ที่กําลังศึกษาใน ภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา 2548 จํานวน 40 คน 1 หองเรียน เครื่องมือที่ใชในการวิจัยครั้งนี้

ไดแก แผนการจัดการเรียนรูเรื่องโจทยปญหาเศษสวน โดยวิธีจัดการเรียนรูดวยเทคนิคเค ดับเบิ้ล ยู ดี แอล (KWDL) รวมกับแนวคิดของวรรณี ที่ผานการตรวจคาดัชนีความสอดคลอง ไดคาดัชนี

ความสอดคลอง 1.00 จํานวน 5 แผน ไดแก แผนจัดการเรียนรู เรื่องโจทยปญหาการบวกลบ เศษสวน โจทยปญหาการคูณเศษสวน โจทยปญหาการหารเศษสวน โจทยปญหาเศษสวนระคน แบบทดสอบวัดผลการเรียนรู เรื่องโจทยปญหาเศษสวน จํานวน 1 ฉบับ โดยแบงออกเปน 2 ตอนคือ ตอนที่ 1 เปนแบบเลือกตอบ 4 ตัวเลือก จํานวน 30 ขอ และตอนที่ 2 เปนแบบ อัตนัย จํานวน 2 ขอ แบบทดสอบฉบับนี้มีคาความเที่ยงตรงเทากับ 1.00 มีความเชื่อมั่นเทากับ 0.80 และแบบสอบถามความคิดเห็นของนักเรียนที่มีตอวิธีจัดการเรียนรูดวยเทคนิคเค ดับเบิ้ลยู ดี

แอล (KWDL) รวมกับแนวคิดของวรรณี มีคาความเที่ยงตรง 1.00 การวิจัยครั้งนี้ เปนการวิจัย เชิงทดลอง (Experimental Research) เปนการทดลองขั้นพื้นฐาน (Pre-Experimental Designs) แบบกลุมเดียวซึ่งทําการทดสอบกอนและหลังเรียน (One Group Pretest Posttest Design) วิเคราะหขอมูลโดยการคํานวณคะแนนเปนคารอยละ (%) การหาคาเฉลี่ย (X ) คา สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ( S.D. ) การทดสอบคา ที ( t-test ) แบบ Dependent และการ วิเคราะหเนื้อหา (Content Analysis)

111

สรุปผลการวิจัย

การวิจัยเรื่อง การพัฒนาผลการเรียนรู เรื่องโจทยปญหาเศษสวน ของนักเรียนชั้น ประถมศึกษาปที่ 5 โดยวิธีจัดการเรียนรูดวย เทคนิค เค ดับเบิ้ลยู ดี แอล รวมกับแนวคิดของวรรณี

มีผลการวิจัยดังนี้

1. ผลการเรียนรูเรื่องโจทยปญหาเศษสวนของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 5 โดยวิธี

จัดการเรียนรูดวยเทคนิค เค ดับเบิ้ลยู ดี แอล รวมกับแนวคิดของวรรณี กอนและหลังการเรียน แตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ซึ่งยอมรับสมมุติฐานการวิจัย ที่กําหนดไว

โดยหลังการจัดการ เรียนรู นักเรียนมีผลการเรียนรูสูงกวากอนเรียน เมื่อพิจารณาคะแนนเฉลี่ย การทดสอบหลังเรียนโดยแยกแตละเรื่อง จํานวน 4 เรื่อง พบวา เรื่องโจทยปญหาการบวกและการ ลบเศษสวนมีคะแนนเฉลี่ยสูงที่สุด และเรื่องโจทยปญหาเศษสวนระคนมีคะแนนเฉลี่ยต่ําที่สุด

2. ความคิดเห็นของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 5 ที่มีตอวิธีจัดการเรียนรู ดวย เทคนิคเค ดับเบิ้ลยู ดี แอล รวมกับแนวคิดของวรรณี นักเรียนเห็นดวยมาก เมื่อพิจารณาแยกเปน รายดานพบวา นักเรียนเห็นดวยมากในทุกดานเรียงตามลําดับ ไดแก คือ ดานบรรยากาศในการ เรียนรู นักเรียนมีความกระตือรือรนในการเรียนรู และเรียนรูอยางมีความสุข อันดับที่สอง คือ ดาน ประโยชนที่ไดรับจากการจัดกิจกรรม นักเรียนไดฝกคิดตามลําดับขั้นตอน สามารถนําขั้นตอนการ แกปญหาไปใชในการเรียนรูสาระการเรียนรูอื่นๆและยังสามารถแกโจทยปญหาไดในเวลาที่กําหนด และดานการจัดกิจกรรมการเรียนรู การสรุปและนําเสนอการแกโจทยปญหาสงเสริมใหนักเรียนได

แสดงความคิดเห็น แลกเปลี่ยนเรียนรู และลงขอสรุปรวมกับเพื่อนๆ ไดอยางเปนระบบ นักเรียนเห็น ดวยมากเปนลําดับสุดทาย

อภิปรายผลการวิจัย

ผลการวิจัย เรื่อง การพัฒนาผลการเรียนรู เรื่อง โจทยปญหาเศษสวนของนักเรียน ชั้นประถมศึกษาปที่ 5 โดยวิธีจัดการเรียนรูดวยเทคนิค เคดับเบิ้ลยูดีแอล รวมกับแนวคิดของวรรณี

สามารถนํามาสูการอภิปรายผลไดดังนี้

1. จากผลการวิจัยพบวา ผลการเรียนรู เรื่องโจทยปญหาเศษสวนของนักเรียนชั้น ประถมศึกษาปที่ 5 โดยวิธีจัดการเรียนรูดวยเทคนิคเคดับเบิ้ลยูดีแอลรวมกับแนวคิดของวรรณี

กอนและหลังการเรียน แตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 โดยคะแนนหลังเรียน สูงกวากอนเรียน หลังการจัดการเรียนรูนักเรียนมีผลการเรียนรูสูงกวากอนเรียน ทั้งนี้อาจเปน เพราะวาการเรียนรูดวยเทคนิค เค ดับเบิ้ลยูดีแอล รวมกับแนวคิดของวรรณี มีขั้นตอนการปฏิบัติ

ตามลําดับที่ ชัดเจน ซึ่งการฝกแกโจทยปญหานั้น นักเรียนได ฝกคิดตามขั้นตอนการเรียนรูของ เทคนิค K-W-D-L ขั้นที่ 1 K นักเรียนแตละคนรวมกันอานโจทยปญหาและวิเคราะหรวบรวม ขอมูลที่ไดจากโจทยวามีขอมูลอะไรบาง และเปน ขอมูลที่เกี่ยวกับอะไร เพื่อนําไปใช แกปญหาใน ขั้นตอนตอไป ซึ่งครูจะตั้งคําถามกระตุนความคิดของนักเรียน ใหนักเรียนไดตอบคําถามเพื่อหา ขอมูลเกี่ยวกับโจทยปญหา และเปนการอธิบายขอมูลเพิ่มเติมใหนักเรียนเขาใจมากยิ่งขึ้น ขั้นที่ 2 W นักเรียนรวมกันวิเคราะหหาสิ่งที่โจทยตองการทราบ โดยนักเรียนจะรวมกันแสดงความคิดเห็น เพื่อเสนอ แนวทางในการแกปญหาดวยเหตุผลของแตละคน และนําวิธีที่แตละคนเสนอมา พิจารณา และทดลองใช แกปญหาเพื่อตรวจสอบวา วิธีการแตละวิธีใชไดผลเปนอยางไร วิธีการ ใดเหมาะสมและดีที่สุดโดยครูคอยสังเกตและคอยกระตุนใหนักเรียนรวมกันปฏิบัติกิจกรรมตาง ๆ ใหสําเร็จลุลวงไปดวยดี ในขั้นนี้นักเรียนแตละคนจะไดแสดงความคิดเห็นของตนเอง และโตแยง ความคิดเห็นของผูอื่นดวยเหตุผล และเชื่อมโยงความรูที่ไดรับมาเพื่อนํามาใชแกปญหา ขั้นที่ 3 D นักเรียนไดรวมกันแสดงวิธีการแกปญหาตามที่ไดเลือกไว โดยเริ่มจากการเขียนประโยค สัญลักษณ เพื่อใหนักเรียนเห็นแนวทางในการคิดคํานวณวาจะตองคํานวณจํานวนใดกอน หรือ จะตองสิ่งใดกอน จากนั้นรวมกันแสดงวิธีทําเพื่อหาคําตอบตามที่โจทยตองการไปทีละขั้นตอน ใน ขั้นนี้นักเรียนจะไดเรียนรูขั้นตอนการแกปญหาอยางละเอียดลึกซื้งไดฝกการคํานวณ เด็กเกงให

ชวยเหลือและอธิบายขั้นตอนการแกปญหาและวิธีการ แกปญหาไดถูกตองโดยครูคอยให

คําแนะนํา และชวยเหลือกับนักเรียนในการเขียนอธิบายวิธีการ แกปญหาใหถูกตองชัดเจน สื่อสาร ใหคนอื่นเขาใจตรงกัน และขั้นสุดทาย ขั้นที่ 4 L ตัวแทนนักเรียนออกมานําเสนอผลการ แกปญหาพรอมทั้งอธิบายวิธีการแกปญหาทีละขั้นตอนใหเพื่อน ๆ และครูได รับฟง และคิด พิจารณาความถูกตองพรอมทั้งตรวจสอบคําตอบรวมกันโดยครูจะเปนผูคอยถามคําถามเพื่อ ตรวจสอบความ เขาใจ และอธิบายทบทวนใหคําแนะนํา เมื่อนักเรียนลังเลในการตอบคําถามหรือ การนําเสนอ ครูใหขอมูลยอนกลับใหนักเรียนตอบอยางมั่นใจ และรวมกันสรุปความรูและประโยชน

จากการเรียนรูในขั้นนี้เปนการฝกใหนักเรียนได กลาแสดงออก มีความมั่นใจในตนเอง กลาพูด และให

เหตุผลไดอยางชัดเจนถูกตอง ไดเรียนรูวิธีการแกปญหาที่หลากหลายจากกลุมเพื่อน ๆ และ สามารถนําไปประยุกตใชใหเกิดประโยชนในสถานการณอื่น ๆ ไดอยางมีประสิทธิภาพ นอกจากนี้

กิจกรรมการเรียนรู ยังเปนการชวยใหผูเรียนเกิดการเรียนรูดวยความสนุกสนานเพลิดเพลิน กลาวคือ ขั้นนําและขั้นทบทวนเปนการเราความสนใจดวยการนั่งสมาธิ การเลนเกม และทบทวนความรูเดิม โดยครูยกสถานการณปญหาในเรื่องที่เรียนมาแลว สนทนา ซักถามและเปนผูนําเสนอความรู สราง บรรยากาศที่ทําใหนักเรียนรูสึกเปนอิสระในการแสดงความคิดเห็น ชวยชี้แนะใหกําลังใจ ทําให