• Tidak ada hasil yang ditemukan

สามารถวิเคราะหหาคํา ตอบและแสดงวิธีทําโจทย

มาตรฐานค 6.3 มีความสามารถในการสื่อสารการสื่อความหมายทางคณิตศาสตร

1. สามารถวิเคราะหหาคํา ตอบและแสดงวิธีทําโจทย

ปญหาการบวก ลบ คูณเศษ สวนระคนพรอมทั้งตระหนักถึง ความสมเหตุสมผลของคําตอบ ที่หาได

2. ใชภาษาและสัญลักษณทาง คณิตศาสตรในการสื่อสาร สื่อ ความหมาย และนําเสนออยาง ถูกตองและเหมาะสม

1. อธิบายความหมายของโจทย

ปญหาเศษสวนระคนได

2. วิเคราะหโจทยปญหาเศษสวน ระคนเพื่อหาวิธีดําเนินการไดถูกตอง 3. เมื่อกําหนดโจทยปญหาเศษสวน ระคนสามารถแสดงในรูปประโยค สัญลักษณและแสดงวิธีทําไดอยางสม เหตุสมผล

4. สรางโจทยปญหาเศษสวนระคน ไดอยางสรางสรรคและสมเหตุสมผล

4/3

5/3

รวม 15

สาระการเรียนรู

กลุมสาระการเรียนรู คณิตศาสตร ชั้น ประถมศึกษาปที่ 5 รายวิชา คณิตศาสตร

จํานวน 200 ชั่วโมง / ป ศึกษาใหเขาใจความคิดรวบยอด ฝกทักษะการคิดคํานวณ กระบวนการ คิด กระบวนการปฏิบัติ ฝกการแกปญหาการเชื่อมโยง การนําความรูไปใชคุณธรรมในสาระตอ ไปนี้คือ จํานวนนับ การอานและการเขียนตัวหนังสือ ตัวเลขฮินดูอารบิก ตัวเลขไทยแทน จํานวนชื่อหลัก คาของตัวเลขในแตละหลัก การเขียนในรูปกระจาย การเรียนลําดับจํานวน การ ประมาณคาใกลเคียงเปนจํานวนเต็ม สิบ เต็มรอย เต็มพัน สมบัติการสลับที่และสมบัติการ เปลี่ยนหมูของการบวก สมบัติการสลับที่และสมบัติการเปลี่ยนหมูของการคูณ สมบัติการแจกแจง การบวก การลบ การคูณ การหารจํานวนนับ และโจทยปญหา การบวก การลบ การคูณการหาร จํานวนนับ การบวก ลบ คูณ หารระคน โจทยปญหา เศษสวน เศษสวนแท เศษเกิน จํานวนคละ เศษสวนของจํานวนนับ เศษสวนที่เทากัน เศษสวนอยางต่ํา การเปรียบเทียบเศษสวนที่มีตัวสวน เปนพหุคูณของกันและกัน การเรียงลําดับเศษสวน การบวก การลบ การคูณ การหารเศษสวน และโจทยปญหา การบวกและการลบเศษสวนที่มีตัวสวนเปนพหุคูณของกันและกัน การคูณและ การหารเศษสวน การบวก ลบคูณหาร เศษสวนระคน โจทยปญหา ทศนิยม การอานและการ เขียนทศนิยมไมเกินสองตําแหนง หลักและคาประจําหลัก การเขียนในรูปกระจาย การ เปรียบเทียบและการเรียนลําดับทศนิยม การเขียนทศนิยมไมเกินสองตําแหนงใหอยูในรูปเศษสวน และการเขียนเศษสวนที่มีตัวสวนเปน 10 หรือ 100 ใหอยูในรูปทศนิยม การเขียนเศษสวนที่ตัวสวน เปนตัวประกอบของ 10 หรือ 100 ใหอยูในรูปทศนิยม การบวก การลบ การคูณทศนิยม และ โจทยปญหา การบวกและการลบทศนิยมไมเกินสองตําแหนงการบวก ลบคูณทศนิยมระคนที่

ผลลัพธเปนทศนิยมไมเกินสองตําแหนง โจทยปญหา รอยละและโจทยปญหา การหาคาประมาณ ใกลเคียงเปนจํานวนเต็มสิบ เต็มรอย และเต็มพัน การหาความยาว ความยาวของเสนรอบรูป ของรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เหลี่ยม โจทยปญหาและสถานการณ การหาพื้นที่ การหาพื้นทีของรูป สามเหลี่ยมและรูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก การคาดคะเนพื้นที่ เปนตารางเมตร ตารางเซนติเมตร และ ตารางวา โจทยปญหาและสถานการณการหาปริมาตร การหาปริมาตร และ / หรือ ความจุของ ทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก รูปเรขาคณิตและสมบัติบางประการของรูปเรขาคณิต

- มุม จุดยอดมุม แขนของมุม การเรียกชื่อมุม การเขียนสัญลักษณแทนมุม ชนิดของ มุม การวัดขนาดของมุมเปนองศา การสรางมุมโดยใชไมโปรแทรกเตอร (ครึ่งวงกลม)

- รูปสี่เหลี่ยม รูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส รูปสี่เหลี่ยมผืนผา รูปสี่เหลี่ยมดานขนาน รูปสี่เหลี่ยมขนมเปยกปูน รูปสี่เหลี่ยมคางหมู รูปสี่เหลี่ยมรูปวาง การสรางรูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก

- รูปวงกลม สวนประกอบของรูปวงกลม การสรางรูปวงกลม - การประดิษฐลวดลายโดยใชรูปเรขาคณิต

- เสนขนาน เสนขนานและการใชสัญลักษณ // แสดงการขนาน การสรางเสนขนาน แบบรูปและความสัมพันธ แบบรูปของจํานวน การเขียนประโยคสัญลักษณแสดงความสัมพันธของ สถานการณหรือปญหา สถิติและความนาจะเปนเบื้องตน การอานแผนภูมิแทง และแผนภูมิแทง เปรียบเทียบการเก็บรวบรวมขอมูลและการเขียนแผนภูมิแทง ความหมายและการนําไปใชในชีวิต ประจําวันของเหตุการณที่เกิดขึ้นแนนอน อาจจะเกิดขึ้นหรือไมเกิดขึ้น และไมเกิดขึ้นอยางแนนอน การจัดประสบการณหรือสรางสถานการณที่ใกลตัวใหผูเรียนไดศึกษาคนควาโดยปฏิบัติจริง ทดลอง สรุป รายงาน และอื่นๆ เพื่อพัฒนาทักษะ / กระบวนการในการคิดคํานวณ การแกปญหา การใหเหตุผล การสื่อความหมายทางคณิตศาสตร และนําประสบการณดานความรู ความคิด ทักษะ กระบวนการที่ไดไปใชในการเรียนรูสิ่งตางๆ และใชในชีวิตประจําวันอยางสรางสรรค ใน สังคมไดอยางหลากหลาย รวมทั้งเห็นคุณคาและมีเจตคติที่ดีตอคณิตศาสตรสามารถทํางานอยาง เปนระบบระเบียบ รอบคอบ มีความรับผิดชอบ มีความขยันอดทนตอการแกสถานการณ ปฏิบัติ

งานรวมกับผูอื่นอยางมีความสุข มีความคิดสรางสรรค มีวิสัยทัศน กวางไกลในสิ่งที่เปนประโยชน

ตอประเทศชาติ มีวิจารณญาณและเชื่อมั่นในตนเอง การวัดและประเมินผล ใชวิธีการหลากหลาย ตามสภาพความเปนจริงของเนื้อหา และทักษะที่ตองการวัด

ผลการเรียนรูที่คาดหวังเรื่อง โจทยปญหาเศษสวน

1. เมื่อกําหนดโจทยปญหาการบวกและการลบเศษสวนที่ตัวสวนตัวหนึ่งเปนพหุคูณ ของตัวสวนอีกตัวหนึ่งให สามารถวิเคราะหโจทย หาคําตอบ และแสดงวิธีทํา พรอมทั้งตระหนักถึง ความสมเหตุสมผลของคําตอบที่ได

2. เมื่อกําหนดโจทยปญหาการคูณเศษสวน สามารถวิเคราะหโจทย หาคําตอบ และ แสดงวิธีทํา พรอมทั้งตระหนักถึงความสมเหตุสมผลของคําตอบที่หาได

3. เมื่อกําหนดโจทยปญหาการหารเศษสวน สามารถวิเคราะหโจทย หาคําตอบ และ แสดงวิธีทํา พรอมทั้งตระหนักถึงความสมเหตุสมผลของคําตอบที่หาได

4. เมื่อกําหนดโจทยปญหาการบวก ลบ คูณ เศษสวนระคนให สามารถวิเคราะหโจทย

หาคําตอบ และแสดงวิธีทํา พรอมทั้งตระหนักถึงความสมเหตุสมผลของคําตอบที่หาได

5. ใหเหตุผลประกอบการตัดสินใจและสรุปผลอยางเหมาะสมและสรางสรรค

6. ใชภาษาและสัญลักษณทางคณิตศาสตรในการสื่อสาร สื่อความหมายและนําเสนอ อยางถูกตองและเหมาะสม

โจทยปญหา และการแกโจทยปญหาคณิตศาสตร

โจทยปญหา

ความหมายของโจทยปญหา

โจทยปญหามีผูใหความหมายไวในลักษณะเดียวกัน คือ หนวยศึกษานิเทศก

สํานักงานคณะกรรมการการประถมศึกษาแหงชาติ ( 2538:5) ใหความหมายวา โจทยปญหา คือ โจทยที่มีขอความเปนภาษาหนังสือ (หรือเปนภาษาพูด) ไมมีเครื่องหมาย บวก ลบ คูณหรือหาร แตตองอาน (หรือฟง) โจทยใหเขาใจวาตองทําวิธีอะไร ( บวก ลบ คูณ หรือ หาร)

แอนเดอรสันและ พริงกรี(Anderson and Pingry 1973,อางถึงใน สุนีย เหมะประสิทธิ์

2533 :20) ใหความหมายของโจทยปญหาคณิตศาสตร เปนสถานการณหรือคําถามที่ตองการหา ขอสรุปหรือเปนคําตอบซึ่งผูแกปญหาจะทําไดโดยจะตองมีกระบวนการที่เหมาะสมซึ่งใชความรู

ประสบการณ การวางแผนและการตัดสินใจประกอบกัน

เลช และชาโวเจวสกิ (Lesh and Zawojewski 1992, อางถึงใน วีระศักดิ์ เลิศโสภา 2544:19) กลาวถึง ความหมายของโจทยปญหาคณิตศาสตรวา เปนสถานการณที่ผูแกโจทย

ปญหาตองการจะคนพบวิธีการแกปญหา และผูแกปญหาตองพยายามแปลความหมาย วิเคราะห

ขอมูลที่มีอยู เพื่อที่จะคนพบวิธีการแกปญหาที่ถูกตอง

โพลยา (Polya 1957:123 - 128) กลาววา ปญหาทางคณิตศาสตรแบงออกเปน 2 ประเภท คือ

1 ปญหาใหคนหา (Problems to Find)เปนปญหาในการคนหาสิ่งที่ตองการซึ่งอาจ เปนปญหาในเชิงทฤษฎี หรือปญหาในเชิงปฏิบัติ อาจเปนรูปธรรมหรือนามธรรม สวนสําคัญของ ปญหานี้แบงเปน 3 สวนคือ สิ่งที่ตองการหา ขอมูลที่กําหนดให และเงื่อนไข

2 ปญหาใหพิสูจน (Problems to Prove)เปนปญหาที่ใหแสดงอยางสมเหตุสมผล วา ขอความที่กําหนดเปนจริงหรือเปนเท็จ สวนสําคัญของปญหานี้แบงเปน 2 สวน คือ สมมติฐาน หรือสิ่งที่กําหนดให และผลสรุปหรือสิ่งที่ตองพิสูจนพิจารณาจากตัวผูแกปญหาและความ ซับซอน ของปญหา

บารูดี ( Baroody 1987: 234 - 236 ) กลาววา ปญหาทางคณิตศาสตรแบงออก เปน 2 ประเภท คือ

1 ปญหาธรรมดา (Routine Problem) หรือปญหาอยางงาย หรือปญหาชั้นเดียว (Simple หรือ one step Translation Problems) เปนปญหาที่ใชในการดําเนินการทาง คณิตศาสตรอยางเดียว และสามารถแกปญหานั้นโดยตรง

2. ปญหาไมธรรมดา (Non routine Problem) แบงออกเปน 7 ลักษณะดังนี้

(1) ปญหาซับซอนหรือปญหาหลายชั้น (Complex (Multistep) Translation Problems)เปนปญหาที่จะตองประยุกตใชในการดําเนินทางคณิตศาสตรตั้งแต2การดําเนินการขึ้น ไปในการแกปญหา

(2) ปญหาที่ตองปรับใชสิ่งอื่นของปญหา (Other Modification of

Translation Problem) เปนการรวบรวมปญหาหลายชั้นและชั้นเดียวแลวเปลี่ยนเปนวิธีการอื่น ๆ เพื่อตองการความคิดวิเคราะหไดแก ปญหาที่ตองการหาองคประกอบที่ผิด หรือสิ่งที่ผิดของโจทย

ปญหาที่ตองการประยุกตคําตอบ ปญหาที่ใหขอมูลมาก ๆ หรือขอมูลนอย ๆ หรือขอมูลที่ไมถูก ตอง ปญหาที่สามารถแกปญหาไดมากกวา 1 วิธี ปญหาที่ตองการคําตอบมากกวา 1 คําตอบ ปญหาที่ตองใชความอดทนในการแกปญหา

(3) ปญหากระบวนการ(Process Problem)เปนปญหาที่ตองใชยุทธวิธีตางๆ ใน การแกปญหา

(4) ปญหาปริศนา (Puzzle Problem) เปนปญหาที่มีเทคนิค และตองการ ความลึกซึ้ง เปนปญหาเกี่ยวกับกลอุบาย ปญหาประเภทนี้จะทําใหเกิดความสนุกสนานและทาทาย (5) ปญหาเฉพาะที่ไมระบุเปาหมาย (Nongoal - SpecificProblem) ปญหา ประเภทนี้ มีลักษณะเปนปญหาปลายเปด ซึ่งไมตองการหาคําตอบหรือเงื่อนไขคําตอบ

(6) ปญหาประยุกต (Applied Problem) ขยายจากสถานการณในชีวิตจริง (7) ปญหายุทธวิธี (Strategy Problem) กําหนดจุดมุงหมายที่จะตองแก ผูเรียน บางคนอาจจะมุงไปที่คําตอบวาถูกตองหรือไม แตปญหาประเภทนี้จะชวยระบุหรือเนนยุทธวิธีที่

จะชวยทําให เขาใจปญหา และกระบวนการในการแกปญหา

บิทเทอร , ฮัทไฟลด และ เอดเวอรด (Bitter, Hatfield and Edwards 1989 : 37 อางถึงใน อรุณศรี ดําบรรณ , 2548: 28) กลาววา ปญหาทางคณิตศาสตรแบงออกเปน 3 ลักษณะ คือ

1 ปญหาปลายเปด(Open – Ended Problem)เปนปญหาที่มีจํานวนคําตอบที่เปนไป ไดหลายคําตอบปญหาเหลานี้มองวา กระบวนการแกปญหาเปนสิ่งสําคัญมากกวาคําตอบ

2 ปญหาใหคนพบ(Discovery Problem)ปญหาประเภทนี้จะใหคําตอบในขั้นสุดทาย แตจะมีวิธีการที่หลากหลายใหผูเรียนใชในการหาคําตอบ