• Tidak ada hasil yang ditemukan

การใชรูปภาพอธิบายหรือแสดงมโนคติทางคณิตศาสตร

มาตรฐานค 6.3 มีความสามารถในการสื่อสารการสื่อความหมายทางคณิตศาสตร

7. เวลาที่ใชในการสอน ควรจะใชระยะเวลาพอสมควรไมนานจนเกิดไป

2.2.2 การใชรูปภาพอธิบายหรือแสดงมโนคติทางคณิตศาสตร

2.2.3 การใชสัญลักษณอธิบายหรือแสดงมโนคติทางคณิตศาสตร เปนขั้นของ การใช(Symbolic resentation)จินตนาการลวน ๆ คือ ใชสัญลักษณ ตัวเลข เครื่องหมายตาง ๆมา อธิบายหาเหตผลและเขาใจสิ่งที่เปนนามธรรม

ฉวีวรรณ กีรติกร (2547: 54-55) กลาววา การจัดการเรียนการสอนตามแนวคิด ของบรูเนอร (Bruner ) จําเปนจะตองคํานึงถึงโครงสรางทางคณิตศาสตรเปนสําคัญ คุณสมบัติที่

สําคัญบางประการของคณิตศาสตร เชนสมบัติการเปลี่ยนกลุม และคุณสมบัติการจัดแจง หากครู

ผูสอนจัดกิจกรรมไดเหมาะกับพัฒนาการของ ผูเรียนและจัดเนื้อหาใหเหมาะสมกับระดับความรู

ความสามารถของผูเรียน โดยคํานึงถึงความพรอมในการเรียน การเรียนการสอนนั้นจึงถือไดวา เปนการฝกใหผูเรียนคิดหยั่งรูและสามารถคิดแกปญหาตาง ๆ ไดดวยตนเอง

นอกจากนี้ บรูเนอร (Bruner ) ยังไดเสนอแนวคิดเกี่ยวกับทฤษฎีทางคณิตศาสตร

ไวดังนี้

1. ทฤษฎีการสราง บรูเนอรไดกลาวไววา การเรียนรูดวยความเขาใจจะชวยให

เด็กสราง กฎเกณฑตาง ๆ ขึ้นไดเอง และสามารถนําไปใชในการแกปญหาตาง ๆ ไดอยางถูกตอง และเหมาะสม

2. ทฤษฎีการใหคําอธิบาย เนนความสามารถในการถายทอดแนวคิดตาง ๆ ให

เปนสัญลักษณ ซึ่งหมายถึงความสามารถในการใชภาษาทางคณิตศาสตรเพื่ออธิบายแนวคิด ตาง ๆไดอยางถูกตอง

3. ทฤษฎีการไดเปรียบและความแตกตาง ถาหากครูผูสอนสามารถชี้ใหเห็น ความแตกตางกันระหวางแนวคิดทางคณิตศาสตร ก็จะชวยใหผูเรียนสามารถเขาใจไดดีในการ สอนคณิตศาสตรจึงควรใชสิ่งที่เปนรูปธรรมมากกวานามธรรมละควรเปนสิ่งที่มีลักษณะไปใน แนวเดียวกัน จะชวยใหเด็กเกิดแนวคิดไดเร็ว ยิ่งขึ้น

4. ทฤษฎีความตอเนื่อง แนวคิดจากทฤษฎีนี้เนนถึงการเรียนคณิตศาสตรเพื่อให

มีความตอเนื่องสัมพันธกัน มีการทบทวนความรูเดิมกอนที่จะสอนเนื้อหาใหม มีการจัดการเรียน การสอนในรูปการปฏิบัติการ การจัดแบงกลุมนักเรียนรวมถึงการใหความสําคัญตอการเรียนรูจาก ประสบการณ และการนําความรูไปใชใหเกิดประโยชน อันจะเปนการเสริมพลังการเรียนรูและ สรางเสริมแนวคิดทางคณิตศาสตรไดเปน อยางดี

จิตวิทยาในการสอนคณิตศาสตร

การจัดการเรียนการสอนคณิตศาสตรที่จะสงเสริมใหผูเรียนเกิดการเรียนรูนั้นนอกจาก ครูผูสอนจะตองมีความรูเกี่ยวกับทฤษฎีในการจัดการเรียนการสอนคณิตศาสตรแลวการมีความรู

ในเรื่องจิตวิทยาในการสอนคณิตศาสตรนับเปนความจําเปนอีกประการหนึ่งที่ครูตองใหความ สําคัญโดยจิตวิทยาที่จําเปนตองนํามาใชในการจัดการเรียนการสอนคณิตศาสตรนั้น คือ

สุรชัย ขวัญเมือง (2522: 32 - 33) ไดกลาวถึงจิตวิทยาที่นํามาใชในการสอน คณิตศาสตรไวดังนี้

1.ใหนักเรียนมีความพรอมกอนที่จะสอน ครูควรจะสํารวจดูวานักเรียนพรอมที่จะเรียน หรือยัง ความพรอมในที่นี้ หมายถึง วัย ความสามารถ และประสบการณเดิมของเด็ก เราจะทราบ ไดโดยการสังเกต การซักถาม การทดสอบดูวาเด็กมีพื้นฐานเลขมาแคไหน นับไดถูกตองหรือไม

เพราะเด็กสวนมากกอนที่จะขั้นชั้น ป. 1 มักจะเรียนมาบางในชั้นอนุบาล ทั้งนี้ความพรอมของ นักเรียนอาจะไมเทากัน

2 สอนจากสิ่งที่เด็กมีประสบการณหรือไดพบเห็นอยูเสมอการใหเด็กเรียนจาก

ประสบการณ ไดเรียนจากสิ่งที่เปนรูปธรรม ไดคิด ไดใช ไดทําดวยตนเอง ทําใหเด็กเขาใจ และ เรียนได รวดเร็วขึ้น เปนตน เชน ใหเด็กหัดนับผลไม สมุด ดินสอ โตะ มานั่ง กระทําโดยการจับคู

แบงเปนพวก แบงเปนหมูเลนเกมงายๆ ทางคณิตศาสตร เด็กจะไดรับความสนุกสนาน เพลิดเพลิน โดยไมได คิดวานั้นคือการเรียนรู

3.สอนใหเด็กเขาใจและมองเห็นความสัมพันธระหวางสวนยอยกับสวนยอย และสวน ยอยกับสวนใหญ เชน 4 + 5 = 5 + 4 หรือ 18 = 10 + 8 เด็กจะมีความเขาใจไดดี เพราะไดลอง โดยใชเสนจํานวน หรือ ของจริง ซึ่งไดผลดีกวาการใหจํากฎหรือแยกกฎมาทองเปนขอๆ

4.สอนจากงายไปหายาก วิธีนี้ควรใชใหเหมาะสมกับวัยและความสามารถของเด็กทั้ง นี้ครูจะตองพิจารณาวาเด็กของตนมีความสามารถเพียงใด ควรจะสอนในระดับไหน เด็กในชั้น ประถมควรใหทํากิจกรรมมากๆ ไมใชครูอธิบายใหฟงแลวใหทําตาม ควรจะดูความสนใจของเด็ก ประกอบดวย

5. ใหนักเรียนเขาใจในหลักการและรูวิธีที่จะใชหลักการ ใหเด็กไดเผชิญกับปญหาที่

เราใจทําใหเด็กสนใจ อยากคิดอยากทํา อยากแกปญหาอยูเสมอ เชน การขายของ ซื้อของ ถามี

การซื้อและขายจํานวนมากๆ เด็กก็จะมีโอกาสไดคิดวิธีที่จะบวกหลายๆ ครั้ง ซึ่งเปนแนวการคูณ จากนี้ครูก็จะแนะใหเห็นวิธีคูณ เด็กก็จะเขาใจไดชัดเจนและมองเห็นประโยชนวาจะนําไปใชได

อยางไร

6. ใหเด็กไดฝกหัดทําซ้ํา จนกวาจะคลองและมีการทบทวนอยูเสมอ การเรียนรูและ เขาใจในหลักการอยางเดียวไมพอ การเรียนคณิตศาสตรจะตองใชการฝกฝนมากๆ เพื่อใหเขาใจใน วิธีการตางๆ การใหแบบฝกหัดควรใหเด็กทราบวาทําไปเพื่ออะไรมีคุณคาอยางไร ใหเด็กมีความ เชื่อมั่นในตนเองและเคยชินกับสิ่งที่ทํา เมื่อครูพบขอบกพรองของนักเรียนควรรีบแกไขทันที

7. ตองใหเรียนรูจากรูปธรรมไปสูนามธรรม ทั้งนี้เพราะคณิตศาสตรเปนวิชาที่เปน นามธรรมยากแกการเขาใจ จึงควรใหเด็กไดเริ่มเรียนรูจากรูปธรรมใหเขาใจกอน ดังนั้นในชวงแรก ครูควรใชชองจริง รูปภาพและสิ่งอื่นๆ ที่สามารถใชแทนจํานวนได แลวจึงคอยนําไปสู

สัญลักษณภายหลัง

8. ควรใหกําลังใจแกเด็กเพื่อใหเกิดความมานะพยายามอันเปนพื้นฐานของความสําเร็จ 9. ควรคํานึงถึงความแตกตางระหวางบุคคล เด็กที่มีความถนัด หรือมีความสนใจควร ไดรับการสนับสนุนเปนพิเศษ แตเด็กที่ไมสนใจครูควรหาสาเหตุ หรือหาทางที่จะชวยเชนเดียวกัน

สุรพล พยอมแยม (2544: 7 – 8 ) ไดกลาวถึง วิธีการเรียนที่สงผลตอการเรียนรูไวดังนี้

1.การถายทอดการเรียนรูมีอิทธิพลตอการเรียนรูอยางมาก การถายทอดโดยแบงงาน ที่จะเรียนรูเปนสวนๆจะทําใหการเรียนรูเปนไปอยางมีประสิทธิภาพมากกวาการถายทอด รายละเอียดทั้งหมดทันที

2.การฝกฝนทบทวน การเรียนรูทุกชนิดจะตองมีการทบทวน และฝกฝนเปนระยะ เพราะนอกจากจะทําใหเกิดการเรียนรูอยางมีประสิทธิภาพแลว ยังทําใหการเรียนรูอยูคงทนดวย

3.การไดรับรูผลการเรียน จะมีสวนชวยใหการเรียนรูดีขึ้น การรูผลของขอผิดพลาดจะ ชวยใหผูเรียนไดแกไขขอบกพรองไดถูกตอง และถารับรูผลสําเร็จ ก็สามารถนําความสําเร็จ หรือสิ่ง ที่ดีจากการเรียนรูครั้งกอนไปใชในการเรียนรูครั้งตอไป และชวยลดความทอแทเบื่อหนายที่เกิด จากการเรียนที่ไมมีโอกาสไดรับรูผลการเรียนดวย

4.การไดเสริมแรง เชน รางวัล คําชมเชย จะมีผลตอการเรียนรูอยางมีประสิทธิภาพ มากกวาการเรียนรูที่ไมไดรับการเสริมแรงผูถายทอดจําเปนตองหาสิ่งเสริมแรงแกผูเรียนใหมากที่สุด

นอกจากนี้แลว ศูนยพัฒนาคุณภาพการเรียนการสอนของ สํานักงานคณะกรรมการ ประถมการศึกษาแหงชาติ (2541: 29) ไดเสนอแนวทางของกระบวนการเรียนการสอนเพื่อให

ผูเรียนเกิดความสุขในการเรียนไดดังนี้

1. บทเรียนเริ่มจากงายไปหายาก คํานึงถึงวุฒิภาวะและความสนใจในการยอมรับของ เด็กแตละวัย มีความตอเนื่องในเนื้อหาวิชาและขยายวงไปสูความรูแขนงอื่นๆ เพื่อเสริมสรางความ เขาใจตอชีวิตและโลกรอบตัว

2. วิธีการเรียนสนุกไมนาเบื่อและตอบสนองความสนใจใครรูของนักเรียน การนําเสนอ เปนไปตามธรรมชาติ ไมยัดเยียดหรือกดดันเนื้อหาที่เรียนไมมากเกินไปจนเด็กเกิดความลาและไม

นอยเกินไปจนเด็กหมดความสนใจ

3.ทุกขั้นตอนของการเรียนรูมุงพัฒนาและสงเสริมกระบวนการคิดในแนวตางๆของเด็ก รวมทั้งความคิดสรางสรรค คิดวิเคราะห จากการประมวลขอมูลและเหตุผลตางๆคิดเปนปญหา อยางมีระบบ

4. แนวการเรียนรูสัมพันธและสอดคลองกับธรรมชาติ เพื่อเปดโอกาสใหเด็กไดสัมผัส ความงามและความเปนไปของสรรพสิ่งรอบตัว บทเรียนไมจํากัดสถานที่หรือเวลาและทุกคนมีสิทธิ์

เรียนรูอยางเทาเทียมกัน

5. มีกิจกรรมหลากหลาย สนุกชวนใหนักเรียนเกิดความสนใจตอบทเรียนนั้นๆ เปด โอกาสใหนักเรียนทุกคนไดมีสวนรวมในกิจกรรมนั้นๆ ภาษาที่ใชจูงใจเด็ก นุมนวล ใหกําลังใจและ เปนไปในเชิงสรางสรรค

6. สื่อที่ใชประกอบการเรียน เราใจใหเกิดการเรียนรูตรงตามเปาหมาย ซึ่งกําหนดไว

อยางชัดเจน คือมุงเนนใหผูเรียนสามารถเรียนรูจนชัดเจน (Learn to Know) เรียนจนทําได

(Learn to Do) และเรียนเพื่อจะเปน (Learn to Be)

7. การประเมินผล มุงเนนพัฒนาการของเด็กในภาพรวมมากกวาจะพิจารณาจากผล การทดสอบทางวิชาการ และเปดโอกาสใหเด็กไดประเมินผลตนเองดวย

จากสิ่งที่ไดกลาวมาแลวขางตน เกี่ยวกับจิตวิทยาการสอนคณิตศาสตรนั้น ครูผูสอน จําเปนตองมีการจัดการเรียนการสอน โดยคํานึงถึงความแตกตางของการเรียนรูระหวางผูเรียนเปน สําคัญนอกจากนั้นแลว ในขณะทําการสอนครูผูสอนจําเปนตองสงเสริมใหผูเรียนไดเกิดการเรียนรู

โดยอาศัยสิ่งที่ผูเรียนมีประสบการณอยูแลวในชีวิตประจําวัน มาประยุกตใชใหเกิดความเชื่อมโยง ระหวางเนื้อหาวิชาและชีวิตประจําวัน โดยเนนใหผูเรียนเห็นประโยชนของการเรียน โดยครูจําเปน ตองมีการวางแผนการนําเสนอเนื้อหาอยางเปนระบบ รวมทั้งมีการเสริมแรงแกผูเรียนอยางตอเนื่อง และควรมีการวัดและประเมินผลโดยมุงเนนพัฒนาการของผูเรียนในภาพรวม พรอมทั้งแจงผลการ เรียนรูแกผูเรียนอยางสม่ําเสมอ

วิธีสอนคณิตศาสตร

คลาคและสตาร(Clark and Starr, อางถึงใน กาญจนา เกียรติประวัติ 2524: 72) ไดอธิบายไววา วิธีสอนหมายถึงการที่ครูจัดกิจกรรมการเรียนการสอนรวมทั้งการใชเทคนิคการสอน เนื้อหาวิชาและสื่อการเรียนการสอนเพื่อใหบรรลุจุดประสงคของการสอนและ สุพิน บุญชูวงศ

(2534:45 อางถึงใน นิรันดร แสงกุหลาบ 2547:39) ไดกลาววาวิธีสอนหมายถึงกระบวนการตาง ๆ ที่ครูนํามาใชสอนนักเรียน เพื่อใหการเรียนการสอนมีประสิทธิภาพในดานความรู ความเขาใจ ดานเจตคติ และดานทักษะ