• Tidak ada hasil yang ditemukan

ทายทายความสามารถของนักเรียน

มาตรฐานค 6.3 มีความสามารถในการสื่อสารการสื่อความหมายทางคณิตศาสตร

1. ทายทายความสามารถของนักเรียน

2. สถานการณของปญหาเหมาะสมกับวัยของนักเรียน 3. แปลกใหมสําหรับนักเรียน

4. มีวิธีการหาคําตอบมากกวา 1 วิธี

5. ใชภาษาที่กระชับ รัดกุม ถูกตอง

จากลักษณะของโจทยปญหาคณิตศาสตรที่กลาวมานั้น จะเห็นวา ลักษณะของโจทย

ปญหามีความสัมพันธกับความสามารถในการแกปญหาของนักเรียน ฉะนั้นครูผูสอนจะสรางโจทย

ปญหาใหนาสนใจ โดยเปนเรื่องที่เกี่ยวของกับชีวิตประจําวันของนักเรียน ใชภาษาที่เขาใจงาย ควร มีความยากงายเหมาะสมกับระดับความรูและพื้นฐานของนักเรียน ถาจะใหดีครูควรใหนักเรียน ชวยกันสรางโจทยปญหาขึ้นเอง ซึ่งจะทําใหนักเรียนมีความสนใจที่จะแกปญหาที่ตนเองสรางขึ้น การแกโจทยปญหาคณิตศาสตร

องคประกอบที่มีสวนชวยในการแกโจทยปญหาคณิตศาสตร

อาดัม, เอลลิส,และบีสัน (Adams, Ellis, and Beeson 1977, อางถึงใน สุนีย

เหมะประสิทธิ์ 2533: 23) กลาววา ในการแกโจทยปญหาคณิตศาสตร จําเปนตองอาศัยปจจัย หรือความสามารถ 3 ดาน คือ

1. สติปญญา การแกโจทยปญหาจําเปนตองใชความคิดในระดับสูง ดังนั้นสติปญญา จึงเปนสิ่งจําเปนประการหนึ่งในการแกปญหา และเปนที่ยอมรับวาองคประกอบของสติปญญามี

สวนสัมพันธกับความสามารถในการแกปญหา

2. การอานความสามารถในการอานนับเปนคุณสมบัติที่สําคัญของการแกปญหามี

นักเรียนจํานวนไมนอยที่มีความสามารถในการอาน แตไมสามารถแกปญหาไดทั้งนี้ เพราะแบบ แผนของการอานมีลักษณะหลากหลาย ประกอบกับการแกปญหานั้นจําเปนตองอาศัยการอาน วิเคราะห (Analytical Reading) อันจะนําไปสูการตัดสินใจวาควรทําอะไรและอยางไร

3. ทักษะพื้นฐาน หลักจากที่วิเคราะหปญหาและตัดสินใจวาควรทําอะไรและอยางไร บาง เปนขั้นตอนของการคํานวณซึ่งนักเรียนตองมีทักษะพื้นฐานของการคํานวณในเรื่องการบวก ลบ คูณ หาร ซึ่งนับวาเปนความสามารถที่คอนขางงายของการแกปญหา

ปรีชา เนาวเย็นผล (2538,อางถึงใน วีระศักดิ์ เลิศโสภา 2544: 25) กลาวถึง องคประกอบสงผลตอการพัฒนาความสามารถในการแกโจทยปญหาคณิตศาสตร ไวดังนี้

1) ความสามารถในการทําความเขาใจปญหา องคประกอบสําคัญที่สงผลโดยตรงตอ ความสามารถ คือ ทักษะการอานและการฟง

2) ทักษะในการแกโจทยปญหา นักเรียนไดฝกการคิดแกปญหาอยูเสมอมี

ประสบการณในการแกปญหาอยางหลากหลาย เมื่อพบปญหาใหมจะสามารถวางแผนเพื่อกําหนด ยุทธวิธีในการแกปญหาไดอยางรวดเร็วและเหมาะสม

3) ความสามารถในการคิดคํานวณและความสามารถในการใหเหตุผลเปนความ สามารถที่ตองไดรับการฝก เพราะสงผลโดยตรงตอการแกปญหา

4) แรงขับ ในการแกปญหานักเรียนจะตองใชพลังความคิดมาก ซึ่งตองอาศัยแรงขับ ที่จะสรางพลังความคิด แรงขับนี้เกิดจากความสามารถดานจิตพิสัย

5) ความยึดหยุนในการคิด ซึ่งเปนความสามารถในการปรับกระบวนการคิดแก

ปญหาโดยบูรณาการกับปจจัยตางๆ เชื่อมโยงเขากับสถานการณของปญหาใหม สรางเปน องคความรูที่สามารถใชเพื่อแกปญหาใหมไดอยางมีประสิทธิภาพ

สวนองคประกอบอื่นๆ ที่สงผลตอความสามารถในการแกโจทยปญหาคณิตศาสตร

มีดังนี้

1) ระดับสติปญญา มีความสัมพันธทางบวกกับความสามารถในการแกปญหา นักเรียนที่มีระดับสติปญญาสูงจะมีความสามารถในการแกโจทยปญหาไดดีกวานักเรียนทีมีระดับ สติปญญาต่ํา

2) การอบรมเลี้ยงดู นักเรียนที่มาจากครอบครัวที่อบรมเลี้ยงดูแบบประชาธิปไตยเปด โอกาสใหนักเรียนแสดงความคิดเห็น คิดและตัดสินใจดวยตนเอง มีแนวโนมที่จะมีความสามารถ ในการแกโจทยปญหาสูงกวานักเรียนที่มาจากครอบครัวที่เลี้ยงดูแบบปลอยปละละเลยและ เขมงวดกวดขัน

3) วิธีการสอนของครู กิจกรรมการเรียนการสอนที่เนนตัวนักเรียน เปดโอกาสให

นักเรียนคิดอยางเปนอิสระ มีเหตุผล ยอมจะสงเสริมใหนักเรียนมีความสามารถในการแกโจทย

ปญหาไดดีกวากิจกรรมการเรียนการสอนแบบบอกใหรู

จากองคประกอบที่กลาวมาขางตนพอสรุปไดวา การแกโจทยปญหาคณิตศาสตรนั้น ขึ้นอยูกับองคประกอบที่สําคัญ 3 ประการ คือ ลักษณะและความสามารถของนักเรียน ลักษณะ ของโจทยปญหาคณิตศาสตร และการเรียนการสอนแกโจทยปญหาคณิตศาสตรในโรงเรียน ถา นักเรียนมีความพรอมในการเขาใจโจทยปญหา มีความสามารถในการอาน การวิเคราะห การ ตีความและการคิดคํานวณ มีความรอบคอบในการแกโจทยปญหา จะทําใหนักเรียนแกโจทย

ปญหาไดงายขึ้น ซึ่ง เรื่องนี้ บอสส (Boss 1986) กลาววามีรายงานวิจัยพบวา นักเรียนที่มีปญหา ในการแกโจทยปญหาจะมีพัฒนาการทางสติปญญาต่ําและความดอยทางความสามารถในการ

อาน มีปญหาในดานการคิดคํานวณและในทางตรงขาม ไซดัม (Suydum 1980) ไดใหขอสรุปวา ผูที่แกโจทยปญหาไดดีจะมีสติปญญาสูง มีความสามารถในการอาน และการคิดตามเหตุผล มีการ กําหนดขอบเขตของปญหาไดดี อีกทั้งมีทัศนคติที่ดีตอการแกโจทยปญหา สวนลักษณะของโจทย

ปญหาและการจัดการเรียนการสอนในโรงเรียนมีสวนสัมพันธกับความสามารถในการแกโจทย

ปญหาของนักเรียน ซึ่งถาครูจัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่เอื้อตอการแกโจทยปญหา ใชโจทย

ปญหาที่นาสนใจ มีความยากงายเหมาะสมกับระกับความรูความสามารถของนักเรียน ใชภาษาที่

กระชับรัดกุมและเปนปญหาที่อยูใกลตัวนักเรียนก็จะทําใหนักเรียนสามารถแกโจทยปญหาไดดี

กวาการเรียนการสอนที่ไมเอื้ออํานวยตอการแกโจทยปญหา

ขั้นตอนการสอนเพื่อใหนักเรียนสามารถแกโจทยปญหาคณิตศาสตรได

ขั้นตอนการสอนแกโจทยปญหาคณิตศาสตรมีความสัมพันธเกี่ยวของกับความ สามารถในการแกโจทยปญหาคณิตศาสตรของนักเรียน นักการศึกษาจึงไดเสนอแนะขั้นตอนที่

สามารถนําไปประยุกตใชในการเรียนการสอนโจทยปญหาคณิตศาสตร ดังนี้

โพลยา (Polya 1957, อางถึงใน นิรันดร แสงกุหลาบ 2547: 45) ไดศึกษาและเสนอ กระบวนการในการแกโจทยปญหาคณิตศาสตร ไว 4 ขั้นตอนคือ

1) การทําความเขาใจกับคําถาม และการสรางแรงจูงใจใหตองการแกปญหาใน ขั้นตอนนี้ นักเรียนจะตองทราบวา อะไรในโจทยที่ทราบแลว อะไรที่ยังไมทราบ โจทยกําหนดเงื่อน ไขอะไรมาใหบาง รวมทั้งเกิดความตองการที่จะแสวงหาคําตอบ

2) การเลือกวิธีการคิดแกโจทยปญหาจากประสบการณเดิม โดยวิธิการคิดนั้นจะ ตองเปนวิธีการคิดแกโจทยปญหาที่มีลักษณะคลายคลึงกับโจทยปญหาที่ตองการแกนี้ เพื่อนําวิธี

การที่คลายคลึงกันมาแกโจทยปญหาที่ตองการ

3) วางแผนจัดลําดับขั้นตอนในการแกโจทยปญหา

4) ตรวจสอบคําตอบกับขอมูลและเงื่อนไขที่กําหนดในโจทย

จรูญ จียโชค (2531:17 -19) เสนอขั้นตอนในการแกโจทยปญหา ไว 4 ขั้นตอน ซึ่งมี

ลักษณะคลายคลึงกับขั้นตอนการแกปญหาของโพลา และยังไดเสนอแนะกิจกรรมการสอนไนแง

ของการตั้งคําถามสําหรับครูอีกดวย ดังนี้

1. ขั้นการอานเพื่อวิเคราะหโจทยปญหาในขั้นตอนนี้ นักเรียนจะตองอานโจทย

และตอบคําถามของครูใหไดวา

- โจทยตองการทราบวาอะไร

- โจทยกําหนดอะไรใหบาง - สิ่งที่ตองการหาคืออะไร

- สวนใดในโจทยที่เกี่ยวของสัมพันธกัน - สวนใดในโจทยไมเกี่ยวของกับการหาคําตอบ

2. ขั้นกําหนดทางเลือกที่ดีที่สุด ในการแกโจทยปญหาในขั้นตอนนี้ นักเรียนระบุไดวา - โจทยขอนี้ตองทํากี่ขั้นตอน

- จะตองทําขั้นตอนในกอน / ขั้นตอนใดหลัง

- วิธีทําโจทยขอนี้คลายกับที่เคยพบ / เคยทํามาแลวบางหรือไม

- โจทยขอนี้หาคําตอบไดกี่วิธี

- วิธีใดเปนวิธีที่งายและคิดหาคําตอบไดเร็วที่สุด - ใหนักเรียนเขียนประโยคสัญลักษณ

3. ขั้นการคิดคํานวณ นักเรียนจะตองใชความสามารถในการคิดในขั้นตอนนี้ คือ - การกะประมาณคําตอบที่ใกลเคียง

- การใชภาษาที่กะทัดรัดประกอบการแกโจทยปญหา - ทักษะการคิดคํานวณ

4. ขั้นการตรวจสอบคําตอบ พฤติกรรมที่นักเรียนแสดงในขั้นตอนนี้ คือ - ตรวจสอบความเปนไปไดของคําตอบ

- การปรับปรุงคําตอบใหสมบูรณ

ครูลิดและรูดนิค (Krulik and Rudnick 1982 : 43 - 44) ไดเสนอแนะแผนผังลําดับขั้น ในการแกโจทยปญหา โดยสรุปมี 5 ขั้นตอน ดังนี้