• Tidak ada hasil yang ditemukan

การเยียวยาความเสียหายผลกระทบจากการผลิตไฟฟาพลังงานชีวมวล

3. มาตรการทางกฎหมายเกี่ยวกับการลงทุนโดยตรงในอุตสาหกรรมผลิตไฟฟาจากพลังงาน

3.6 การเยียวยาความเสียหายผลกระทบจากการผลิตไฟฟาพลังงานชีวมวล

 

3.5.4.4 เพื่อความมั่นคงของระบบไฟฟาของการไฟฟาฝายจําหนาย การไฟฟาฝาย จําหนายมีสิทธิ์ตรวจสอบหรือขอใหผูผลิตไฟฟา ตรวจสอบ แกไข ปรับปรุงอุปกรณการจายไฟฟา ของผูผลิตไฟฟาที่เกี่ยวของกับระบบไฟฟาของการไฟฟาฝายจําหนายเมื่อใดก็ไดตามความจําเปน

 

รองรับการพัฒนาโรงไฟฟาพลังงานชีวมวลในภาพรวมของจังหวัด จัดทําแผนพัฒนาพลังงานและ แผนแมบทพลังงานชีวมวลของแตละจังหวัด โดยการมีสวนรวมของประชาชนเพื่อเปนกรอบการ พัฒนาและอนุญาตโครงการโรงไฟฟาในแตละพื้นที่

1.2 กรมโยธาธิการและผังเมืองเปนหนวยงานหลักรวมกับกรมโรงงานอุตสาหกรรม สํานักงานคณะกรรมการกํากับกิจการพลังงาน สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดลอม องคกรปกครองสวนทองถิ่น และหนวยงานที่เกี่ยวของ ปรับปรุงมาตรฐานและ หลักเกณฑการใชประโยชนที่ดินในผังเมือง เพื่อเปนแนวทางการจัดทําขอกําหนดการใชประโยชน

ที่ดินสําหรับโรงไฟฟาพลังงานชีวมวล

1.3 กรมโรงงานอุตสาหกรรมเปนหนวยงานหลักรวมกับสํานักงานคณะกรรมการกํากับ กิจการพลังงาน กรมโยธาธิการและผังเมือง สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดลอมและหนวยงานที่เกี่ยวของดําเนินการปรับปรุงบัญชีประเภทอุตสาหกรรม ประเภท กิจการโรงไฟฟา โดยใหแบงเปนประเภทยอยเพื่อใหเกิดความชัดเจนในการกําหนดมาตรการ ควบคุมและการปองกันผลกระทบจากโรงไฟฟาพลังงานชีวมวล

1.4 ใหสํานักงานคณะกรรมการกํากับกิจการพลังงานเปนหนวยงานหลักรวมกับ กรม โรงงานอุตสาหกรรม กรมอนามัย สํานักงานคณะกรรมการสุขภาพแหงชาติ องคกรปกครองสวน ทองถิ่น สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม กรมควบคุมมลพิษ และ หนวยงานอื่นๆ ที่เกี่ยวของดําเนินการทบทวนปรับปรุงประกาศหลักเกณฑวิธีการและเงื่อนไขการ ออกใบอนุญาต และการเพิกถอนใบอนุญาต

3.7 มาตรการลงโทษ

เมื่อโรงไฟฟาพลังงานชีวมวลเปดดําเนินการแลวปญหาที่พบมากคือ การไมดําเนินการ ตามสัญญาประชาคมหรือสิ่งที่กําหนดไวตามกฎหมายในใบอนุญาต ซึ่งหนวยงานรัฐเปนผูออก ใบอนุญาตกําหนดไวตามกฎหมายเพื่อปองกันไมใหเกิดความเสียหาเปนผลกระทบกับประชาชนใน พื้นที่ เมื่อโครงการโรงไฟฟาดําเนินการผลิตไฟฟาจึงกอใหเกิดผลกระทบกับประชาชนในพื้นที่

โรงไฟฟาขึ้นเปนอยางมาก จึงตองมีมาตรการลงโทษจากการที่ผูประกอบกิจการโรงไฟฟาพลังงาน ชีวมวลละเลยเพิกเฉยไมยอมปฏิบัติตาม ซึ่งมีรายละเอียดดังตอไปนี้

3.7.1 การผิดสัญญากับหนวยงานรัฐ

เมื่อผูประกอบกิจการโรงไฟฟาพลังงานชีวมวลละเลยเพิกเฉยไมยอมปฏิบัติตามสัญญา ที่กําหนดไวในใบอนุญาตหนาที่หลักของหนวยงานรัฐที่เปนผูใหใบอนุญาตและควบคุมกํากับดูแล

 

กิจการไฟฟาคือ คณะกรรมการกํากับกิจการพลังงานและการไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย ซึ่งตองมีหนาที่รับผิดชอบโดยการกําหนดใหมีมาตรการลดผลกระทบดังกลาว มีการตรวจสอบ

ควบคุม เพื่อใหเกิดผลบังคับใหผูประกอบกิจการโรงไฟฟาปฏิบัติตามกฎหมาย ทั้งนี้ ที่ผานมาเมื่อมี

การรองเรียนจากประชาชนเปนจํานวนมากเกี่ยวกับกรณีหนวยงานของรัฐที่เกี่ยวของเขามาแกไข มีนอยและลาชา ซึ่งสวนใหญจะเปนกรณีที่มีผลกระทบชัดเจน ตรงนี้คือปญหาเรื่องการบังคับใช

กฎหมาย ซึ่งหนวยงานที่รับผิดชอบตองออกมาตรการใหครอบคลุมถึงเรื่องดังตอไปนี้

3.7.1.1 กําหนดที่ตั้งและระยะหางที่ชัดเจนและเหมาะสม ระหวางโรงไฟฟาพลังงานชีว มวลที่มีขนาดกําลังผลิตตางๆ กับชุมชน สาธารณสถาน แหลงน้ําสาธารณะ แหลงอนุรักษ

ทรัพยากรธรรมชาติ และโรงไฟฟาพลังงานชีวมวลโครงการอื่น โดยใหมั่นใจไดวาจะไมสงผล กระทบตอสุขภาพของประชาชนในพื้นที่โรงไฟฟา

3.7.1.2 ปรับปรุงมาตรฐานการดําเนินงานของโรงไฟฟาพลังงานชีวมวล ทั้งในสวนที่

เกี่ยวของกับเกณฑคุณภาพน้ําทิ้งและอากาศเสียที่ปลอยออกจากโรงไฟฟา คุณภาพเชื้อเพลิง ประสิทธิภาพของเตาเผา ตะแกรงดักฝุนละออง รวมถึงอุปกรณปองกันและลดผลกระทบ

3.7.1.3 จัดทําแผนสนับสนุนใหมีการพัฒนาและใชเทคโนโลยีและอุปกรณที่ทันสมัยได

มาตรฐานสากล และมีมลพิษต่ํา

3.7.1.4 เพิ่มเติมหลักเกณฑในเรื่องการจัดเก็บเชื้อเพลิงและขี้เถาในระบบปด และ มาตรการในการขนสงเชื้อเพลิงและขี้เถาใหสามารถปองกันฝุนปลิวไปในอากาศได

3.7.2 มาตรการทางปกครอง

เมื่อหนวยงานที่รับผิดชอบไดมีการออกมาตรการกําหนดใหผูประกอบกิจการโรงไฟฟา พลังงานชีวมวลตองปฏิบัติตามสัญญาที่กําหนดไวในใบอนุญาต แตเมื่อผูประกอบกิจการไฟฟาไม

ปฏิบัติตาม หนวยงานของรัฐก็จะมีมาตรการลงโทษเพื่อไมใหโรงไฟฟาดังกลาวละเมิดสัญญาของ รัฐอีกตอไป ซึ่งมีรายละเอียดดังตอไปนี้

3.7.2.1 มีมาตรการลงโทษทางแพงและอาญา หรือใหมีคําสั่งทางปกครองปดโรงไฟฟาที่

สรางปญหาความเดือดรอนตอประชาชนในพื้นที่เพื่อเปนการแกปญหา

3.7.2.2 การเพิกถอนใบอนุญาตผูประกอบการที่ขาดคุณสมบัติหรือไมปฏิบัติตาม ระเบียบและกฎหมาย เพื่อเปดเผยใหสาธารณะไดรับทราบ

3.7.2.3 ใหมีการจัดตั้งกองทุนเพื่อชดเชยผูไดรับความเสียหายผลกระทบจากโรงไฟฟา พลังงานชีวมวล เพื่อทําหนาที่ชวยเหลือ เยียวยา ซึ่งรวมไปถึงการดําเนินการในกระบวนการ ยุติธรรมสําหรับผูที่ไดรับผลกระทบจากโรงไฟฟาพลังงานชีวมวล

 

3.7.2.4 เปดเผยขอมูลผลการปฏิบัติตามแผนและมาตรการปองกันและลดผลกระทบของ โรงไฟฟาพลังงานชีวมวลเปนประจําทุกป เพื่อใหสาธารณะไดรับทราบถึงขอมูลนั้น

3.7.2.5 ใหมีการรับฟงความเห็นและการมีสวนรวมของภาคประชาชนอยางมีคุณภาพใน ทุกขั้นตอน โดยการปฏิบัติตามรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550 มาตรา 56, 57, 58, 59, 66 และมาตรา 67 อยางเปนรูปธรรม

วิเคราะหปญหาและอุปสรรคของมาตรการทางกฎหมายที่เกี่ยวกับการลงทุน โดยตรงในอุตสาหกรรมผลิตไฟฟาจากพลังงานชีวมวล

เมื่อไดทราบถึงความเปนมา ความหมาย แนวคิดทฤษฎี รูปแบบ และลักษณะที่สําคัญ เกี่ยวกับการลงทุนในอุตสาหกรรมผลิตไฟฟาจากพลังงานชีวมวลในบทที่ 2 มาตรการทางกฎหมาย และนโยบายเกี่ยวกับการลงทุนในอุตสาหกรรมผลิตไฟฟาจากพลังงานชีวมวลในบทที่ 3 สําหรับใน บทนี้จะทําการเสนอถึงปญหา และวิเคราะหถึงปญหากฎหมายและอุปสรรคที่เกิดขึ้นกับผูประกอบ กิจการผลิตไฟฟาตองประสบอันเนื่องมาจากการบังคับใชกฎหมายที่เกี่ยวของกับการลงทุนโดยตรง ในอุตสาหกรรมผลิตไฟฟาจากพลังงานชีวมวล ซึ่งแบงออกไดเปนประเด็นปญหาหลักๆ 7 ขอ ดังตอไปนี้

4.1 ปญหาและอุปสรรคเกี่ยวกับหนวยงานที่รับผิดชอบ

อาจกลาวไดวาปญหาตางๆ ที่เกี่ยวกับการลงทุนโดยตรงในอุตสาหกรรมผลิตไฟฟา ที่เกิดขึ้นสวนหนึ่งนั้นเปนปญหาและอุปสรรคที่เกิดจากหนวยงานของรัฐในการกํากับดูแลหรือ อนุญาตประกอบกิจการผลิตไฟฟาเปนหนวยงานที่มีลักษณะการทําหนาที่ซ้ําซอนหรือบางหนวยงาน ไมมีความจําเปนในการเขามาควบคุมกิจการไฟฟา อยางเชนกรณีในการขอรับใบอนุญาต ตามกฎหมายบางฉบับที่ใหอํานาจหนวยงานของรัฐในการปฏิบัติตาม ซึ่งเปนกฎหมายที่บัญญัติ

ขึ้นมานานแลวและยังไมไดมีการปรับปรุงหรือแกไขใหเหมาะสมกับสภาพการณในปจจุบัน หรือกฎหมายบางฉบับก็เปนการบัญญัติวิธีการใหเอกชนผูประกอบกิจการผลิตไฟฟาตองปฏิบัติ

ซ้ําซอนกันที่สําคัญไดแก หนวยงานที่ปฏิบัติตามประกาศคณะปฏิวัติฉบับที่ 58 พ.ศ. 2515 เปนกฎหมายเกี่ยวกับการควบคุมการคาขายอันกระทบถึงความปลอดภัยและผาสุกแหงสาธารณชน

ซึ่งตามกฎหมายดังกลาวไดกําหนดใหการประกอบกิจการไฟฟานั้นจะตองขออนุญาตผลิต หรือขอสัมปทานการผลิตไฟฟาจากรัฐมนตรีวาการกระทรวงมหาดไทย (ปจจุบันรัฐมนตรีวา

การกระทรวงพลังงาน) ซึ่งกฎหมายนี้บัญญัติขึ้นเมื่อ 26 มกราคม 2515 ก็เพื่อใหเอกชนที่ประกอบ

กิจการผลิตไฟฟาสามารถผลิตพลังงานไฟฟาขายไดในพื้นที่ที่รัฐยังไมสามารถเขาไปใหบริการผลิต ไฟฟาแกประชาชนได โดยกฎหมายฉบับนี้ไดใหอํานาจหนวยงานที่รับผิดชอบตองควบคุมการผลิต ไฟฟาและขายไฟฟาของเอกชนผูไดรับสัมปทานใหแกประชาชนรายยอยที่อยูในเขตพื้นที่สัมปทาน นั้นๆ ซึ่งเหมาะกับสภาพของบานเมืองในขณะนั้น มิไดมีเจตนาใหหนวยงานที่รับผิดชอบ คือ การ ไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทยมีบทบาทสงเสริมใหผูประกอบกิจการผลิตไฟฟาเอกชนดําเนินการ ผลิตไฟฟาเพื่อขายใหกับ กฟผ. และสถานที่ตั้งโรงไฟฟาของเอกชนผูผลิตไฟฟาจะตั้งอยูที่ใดนั้น ก็ขึ้นอยูกับเงื่อนไขในการประกาศรับซื้อของ กฟผ. วาตองการใหมีกําลังการผลิตไฟฟาเขามาเสริม ในพื้นที่ใดของประเทศจึงเหมาะสมและเขากับระบบสายสงไฟฟาของ กฟผ. อีกทั้งการรับซื้อไฟฟา เทาใดก็ขึ้นอยูกับการคาดการณของ กฟผ. และสํานักงานนโยบายและแผนพลังงาน (สนพ.) โดยความ เห็นชอบของคณะกรรมนโยบายพลังงานแหงชาติ (กพช.) ซึ่งมีคณะกรรมการบริหารนโยบาย พลังงาน (กบง.) เปนผูชวยกลั่นกรองและเสนอแนะ ซึ่งเปนหนวยงานที่มีหนาที่รับผิดชอบในเรื่อง พลังงานของประเทศ ซึ่งเปนอํานาจที่บัญญัติไวในพระราชบัญญัติคณะกรรมการนโยบายพลังงานแหงชาติ

พ.ศ. 2535 ดังนั้น จึงมีความซ้ําซอนกับหนวยงานที่ตั้งขึ้นมาใหมตามพระราชบัญญัติคณะกรรมการนโยบาย พลังงานแหงชาติ พ.ศ. 2535 ซึ่งมีความเหมาะสมกวา อาจกลาวไดวาเปนความซ้ําซอนในการปฏิบัติ

ตามกฏหมายของหนวยงานที่มีอํานาจหนาที่อยูแลว ซึ่งถือเปนปญหาและอุปสรรคในการปฏิบัติ

ตามกฎหมายของหนวยงานที่รับผิดชอบ รวมถึงหนวยงานของรัฐที่มีปญหาและอุปสรรคดังกลาว คือ กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษพลังงาน ที่ปฏิบัติตามพระราชบัญญัติการพัฒนาและ สงเสริมพลังงาน พ.ศ. 2535 ซึ่งมีหนาที่รับผิดชอบในการคนควา พัฒนา กํากับดูแล การปฏิบัติการ เกี่ยวกับการผลิต การสงและจําหนายพลังงาน ดังนั้นจึงมีผลทําใหหนวยงานนี้ มีอํานาจกํากับดูแล เกี่ยวกับการผลิตไฟฟาของเอกชนผูประกอบการผลิตไฟฟา แตอํานาจหนาที่ของหนวยงานที่บัญญัติ

ไวในมาตรา 6 ไดใหอํานาจในการตรวจสอบเกี่ยวกับพลังงานไฟฟาในดานการผลิต การควบคุม แหลงผลิตพลังงาน การออกใบอนุญาตผลิตพลังงานควบคุม และมาตรา 28 ใหอํานาจในกรณีที่อาจ เกิดการขาดแคลนพลังงานควบคุมเปนการชั่วคราวหรือกรณีจําเปนอยางอื่นก็มีอํานาจออกคําสั่งให

ผูผลิตพลังงานควบคุมลดหรือเพิ่มการผลิตหรือเปลี่ยนประเภทวัตถุดิบได ซึ่งอํานาจตามมาตรา 6 นั้นไมมีบทมาตราใดรองรับอีกวาใหกระทําเพื่อวัตถุประสงคอะไรจึงเห็นไดวากรมพัฒนาพลังงาน ทดแทนและอนุรักษพลังงานไมนาจะมีหนาที่ตองเขามาเกี่ยวของกับกิจการผลิตไฟฟา ทั้งนี้เพราะ ถือวามีการควบคุมโดยคณะกรรมการนโยบายพลังงานแหงชาติ (กพช.) และ กฟผ. มาแลว

ดังนั้น เมื่อไดศึกษาและพิจารณาถึงหลักเกณฑของกฎหมายเกี่ยวกับการประกอบกิจการผลิตไฟฟา ของประเทศตางๆแลวพบวา ประเทศสหรัฐอเมริกา ประเทศสหพันธสาธารณรัฐบราซิล และ ประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน ไดใหความสําคัญเกี่ยวกับการลงทุนในการประกอบกิจการผลิต

Garis besar

Dokumen terkait