• Tidak ada hasil yang ditemukan

แนวคิดที่เนนประโยชนทางเศรษฐกิจ

2. ความหมาย แนวคิดทฤษฎี ความเปนมา ลักษณะทั่วไป รูปแบบ ความสําคัญเกี่ยวกับ

2.3 แนวคิดทฤษฎีและความเปนมาเกี่ยวกับการลงทุนโดยตรง

2.3.2 แนวคิดทฤษฎีและความเปนมาเกี่ยวกับการลงทุนโดยตรง

2.3.2.3 แนวคิดที่เนนประโยชนทางเศรษฐกิจ

การกํากับดูแลทางเศรษฐกิจเปนแนวความคิดที่ไดรับความนิยมและเปนที่ยอมรับใน ประเทศสหรัฐอเมริกาเปนอยางมากในชวง 30-40 ป โดยอิงอยูกับหลักและแนวคิดทาง เศรษฐศาสตร โดยเฉพาะแนวคิดแบบเศรษฐกิจเสรีนิยม ซึ่งตั้งอยูบนพื้นฐานความคิดในเรื่องการ แขงขันที่ดําเนินไปตามกลไกตลาดนั้น54 จะใหความสําคัญกับราคาตลาดโดยปราศจากการ แทรกแซงของรัฐบาลและนํามาซึ่งประโยชนสูงสุดในสังคม (Allocate Efficiency)

      

52 นันทวัฒน บรมานันท. อางแลว เชิงอรรถที่ 50. หนา 52-54.

53 นันทวัฒน บรมานันท. อางแลว เชิงอรรถที่ 50. หนา 122-133.

54 นริศ ศรีนวล. (2549). รูปแบบที่เหมาะสมขององคกรกํากับดูแลกิจการไฟฟาในประเทศไทย. วิทยานิพนธ

นิติศาสตรมหาบัณฑิต. คณะนิติศาสตร. มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย. หนา 13.

จากการที่กิจการไฟฟามีความสําคัญอยางมากตอระบบเศรษฐกิจ ทําใหหลายๆ ประเทศไดดําเนินการปรับเปลี่ยนนโยบายดานการลงทุนและการใหบริการไฟฟา โดยเฉพาะ ประเทศที่มีการผูกขาดการดําเนินการใหบริการไฟฟาโดยองคกรของรัฐไปเปนการเปดการแขงขัน เสรีมากขึ้น โดยการแปรรูปองคกรของรัฐที่เปนผูใหบริการไปสูองคกรเอกชน (Privatization) และ ปลอยใหมีการแขงขันในสวนของกิจการที่สามารถมีการแขงขันได ลดการแทรกแซงจากภาครัฐ ปลอยใหตลาดดําเนินไปตามกลไกทางเศรษฐกิจ ซึ่งจะนําไปสูประสิทธิภาพในการจัดสรร ทรัพยากรที่หายากและขาดแคลนในทางเศรษฐกิจไดดีที่สุด ตัวอยางประเทศที่ประสบความสําเร็จ จากการแปรรูปองคกรของรัฐที่เปนผูใหบริการไฟฟาไปเปนเอกชน ไดแก ประเทศสหรัฐอเมริกา แคนาดา อังกฤษ เปนตน

1) แนวคิดเกี่ยวกับผลกระทบภายนอก

ผลกระทบภายนอกโดยทางเศรษฐศาสตร หมายถึง กิจกรรมที่สงผลกระทบ ในทางบวกและลบตอกิจกรรมอื่น โดยที่กิจกรรมอื่นที่ไดรับผลกระทบเหลานั้นไมมีสวนในรายจาย

หรือรับคาใชจาย

โดยปกติประโยชนจากสินคาจะตกแกผูบริโภคที่ซื้อสินคานั้นมาโดยเฉพาะตัว ซึ่งจะ ไมกระทบกระเทือนตอระดับประโยชน รูปแบบการบริโภค หรือการตัดสินใจในกิจกรรมทาง เศรษฐกิจที่จะทําของบุคคลอื่น แตในบางกรณี การบริโภคสินคาดังกลาวอาจสงผลกระทบภายนอก กลาวคือ มีผลตอการบริโภคหรือการผลิตของผูบริโภคหรือผูผลิตรายอื่นๆ ได เชน การผลิตสินคาที่

มีกระบวนการผลิตกอใหเกิดความเสียหายตอสิ่งแวดลอม อันเปนการกอใหเกิดความเสียหายตอ สังคม และเกิดเปนคาใชจายทางสังคม55 (Social Cost) ซึ่งจะตองรวมเปนตนทุนของสินคาอยางหนึ่ง แต

ผูประกอบกิจการและผูบริโภคสวนใหญมักมองขามคาใชจายชนิดนี้ เนื่องจากมิใชคาใชจายของ กิจการ เมื่อเปนเชนนี้ ทําใหการใชทรัพยากรเปนไปอยางไมเหมาะสม ซึ่งกรณีนี้ รัฐบาลจําเปนตอง เขามาแทรกแซงเพื่อใหมีการจัดสรรทรัพยากรอยางมีประสิทธิภาคและเหมาะสม

ตัวอยางที่เห็นชัดเจนของผลกระทบจากภายนอก คือ ในอุตสาหกรรมการผลิตพลังงาน ไฟฟา โรงงานผลิตพลังงานไฟฟาอาจปลดปลอยฝุนควันหรืออากาศเสียไปสูชั้นบรรยากาศซึ่งอากาศ ก็ถือเปนสินคาสาธารณะ (Public Good) หรือสมบัติสาธารณะที่ประชาชนทุกคนเปนเจาของรวมกัน (Common Property) โดยทั่วไปตนทุนนี้ผูผลิตมักไมไดรวมไวในตนทุนการผลิตสินคา หากมิได

มีกฎเกณฑที่กํากับดูแลที่เหมาะสม56 ผูผลิตและผูบริโภคที่เกี่ยวของกับสินคาประเภทนี้จะไมรับผิดชอบ ภาระในเรื่องมลภาวะที่เกิดขึ้นกับสินคาสาธารณะ และอาจจะปลดปลอยมลพิษเพิ่มขึ้นอีก

      

55 รัตนา สายคณิต และ ชลลดา จามารสกุล. (2538). หลักเศรษฐศาสตรเบื้องตน. ม.ป.ท. หนา 85.

56 นริศ ศรีนวล. อางแลว เชิงอรรถที่ 54. หนา 13.

2) แนวคิดเกี่ยวกับการผูกขาดโดยธรรมชาติ (Natural Monopoly) และการแขงขันที่

ทําลายกันเอง

การผูกขาด (Monopoly) หมายถึง กรณีที่ตลาดมีผูประกอบกิจการขายหรือผลิตเพียง รายเดียวหรือกลุมบริษัทรวมตัวกันกําหนดราคาสินคาหรือปริมาณสินคาภายในตลาด ดังนั้น การผูกขาด ทําใหราคาของสินคามีแนวโนมสูงหรือต่ําได เมื่อเปรียบเทียบกับราคาตลาด ในตลาดที่มีการแขงขัน สมบูรณ ผูประกอบกิจการเพียงรายเดียวสามารถสนองความตองการของผูบริการทั้งหมดได

อยางไรก็ดี กิจการบางประเภท เชน กิจการไฟฟา กิจการประปา กิจการโทรศัพท

โดยเฉพาะกิจการไฟฟาที่เปนสวนของการสงหรือกระจายไฟฟา และสวนของการจําหนายไฟฟา จะตองลงทุนมาก การมีผูประกอบกิจการมากรายยอมไมกอใหเกิดผลดีตอระบบเศรษฐกิจมากนัก ในทางตรงกันขามกลับอาจกอใหเกิดการลงทุนที่สูญเปลาและซ้ําซอน กิจการเหลานี้จึงเปนการ ผูกขาดโดยธรรมชาติ

สวนการแขงขันที่ทําลายกันเอง หมายถึง ตลาดที่มีการแขงขันสูงมากจนเกินสมควร

และมีแนวโนมสงผลใหผูประกอบการหลายรายตองออกจากตลาด และทายที่สุดจะเหลือเพียง ผูประกอบกิจการรายเดียวที่ยังคงใหบริการตอไปได และนําไปสูปญหาการผูกขาดในที่สุด

การใชกฎหมายปองกันการผูกขาดไมเหมาะสมที่จะนํามาเยียวยา หรือบังคับใช การ พยายามใหมีผูประกอบกิจการแขงขันในกิจการผูกขาดธรรมชาติจํานวนมากก็จะนํามาซึ่งความ สูญเสียทางเศรษฐกิจ ที่เรียกวา การแขงขันที่ทําลายกันเอง เนื่องจากตลาดที่มีการแขงขันสูงหรือมาก เกินไป จะทําใหสินคาและบริการมากเกินความตองการ จึงเกิดมีการตัดราคาสินคาหรือบริการ ดังนั้นจึงจําเปนตองมีการแทรกแซงของรัฐเพื่อแกไขปญหาการผูกขาดโดยธรรมชาติและการ แขงขันที่ทําลายกันเอง

3) แนวคิดเกี่ยวกับการรวมกันกําหนดราคา (Cartel)

ในตลาดผูขายนอยราย เปนตลาดที่ผูขายแตละรายมีความสัมพันธกับการตัดสินใน ของผูขายรายหนึ่งรายใด จะตองกระทบกระเทือนตอผูขายอื่นๆอยูเสมอ ดังนั้นในระหวางผูผลิตจึง มักมีการรวมมือกันกําหนดราคาและปริมาณผลผลิตที่จะเสนอขายในตลาด ซึ่งวิธีนี้เปนการผูกขาด ทางการคาประเภทหนึ่ง สําหรับในลงทุนประกอบกิจการไฟฟา หากมีการรวมมือกันระหวางผูผลิต พลังงานไฟฟารายใหญหรือผูจัดจําหนาย หรือลูกคาที่เปนผูซื้อไฟฟารายใหญกับผูดําเนินการ เกี่ยวกับระบบสงไฟฟาแลว ถาไมมีการควบคุมอยางเพียงพอ จะทําใหผูประกอบการกลุมดังกลาว สามารถมีอํานาจเหนือตลาดได โดยสามารถกําหนดราคาและเงื่อนไขการสงไฟฟาไดตามความ พอใจ (Predatory Pricing) จึงจําเปนตองใหความสําคัญในการกํากับดูแล57

      

57 นริศ ศรีนวล. อางแลว เชิงอรรถที่ 54. หนา 14.

Garis besar

Dokumen terkait