• Tidak ada hasil yang ditemukan

ปญหาและอุปสรรคเกี่ยวกับการเยียวยาความเสียหายผลกระทบ

4. วิเคราะหปญหาและอุปสรรคของมาตรการทางกฎหมายที่เกี่ยวกับการลงทุนโดยตรง

4.7 ปญหาและอุปสรรคเกี่ยวกับการเยียวยาความเสียหายผลกระทบ

ปจจุบันในประเทศไทยมีโรงไฟฟาพลังงานชีวมวลเกิดขึ้นจํานวนมากตามแผนพัฒนา พลังงานทดแทนและพลังงานทางเลือกในชวง 10 ป (พ.ศ. 2555-2564) ของกรมพัฒนาพลังงาน ทดแทนและอนุรักษพลังงานกระทรวงพลังงาน โดยกําหนดเปาหมายการใชชีวมวลผลิตไฟฟาใหได

3,630 เมกะวัตต หรือคิดเปนพลังงานทางเลือกรอยละ25 ของปริมาณไฟฟาที่ผลิตได ขอมูลสําคัญ

เมื่อป พ.ศ. 2553 มีโรงไฟฟาพลังงานชีวมวลมากกวา 84 แหง และในป พ.ศ. 2554 มีโรงไฟฟา พลังงานชีวมวลซึ่งอยูระหวางกระบวนการเริ่มตนพิจารณาขออนุมัติโครงการจากรัฐและเสนอ ขายไฟฟา 309 แหง ทั้งนี้ประเด็นที่นาสนใจคือ โรงไฟฟาพลังงานชีวมวลจํานวนมากถึง 297 โรง เปนโรงไฟฟาที่มีกําลังการผลิตนอยกวา 10 เมกะวัตตจึงไมตองจัดทํารายงานการวิเคราะห

ผลกระทบสิ่งแวดลอม (Environmental Impact Assessment: EIA) ทั้งนี้ผูประกอบการไดหลีกเลี่ยง การทํา EIA โดยสรางโครงการใหมีขนาด 9.0-9.9 เมกะวัตตหลายโครงการในบริเวณเดียวกัน จํานวนมาก หากไมมีการบริหารจัดการหรือควบคุมกํากับดูแลที่ดีพอจากภาครัฐ การประกอบ กิจการโรงไฟฟาพลังงานชีวมวลเหลานี้จะสงผลกระทบตอประชาชนและสิ่งแวดลอมเปนอยางมาก จากสารและฝุนละอองจําพวกขี้เถาจากการเผาไหมวัสดุเหลือใชทางการเกษตรที่ไมสมบูรณเกิดเปน อันตรายตอสุขภาพ รวมทั้งเกิดน้ําเสียและแยงน้ําในชุมชนใช เนื่องจากเปนกิจการที่ตองใชน้ําใน ปริมาณมาก และทําใหถนนในชุมชนชํารุดเสียหายจากรถบรรทุกที่ใชในการขนพืชชีวมวลเขาสู

โรงไฟฟา

ปญหาที่พบขณะนี้คือ ผูประกอบการโรงไฟฟามีการหลีกเลี่ยงการปฏิบัติตาม พระราชบัญญัติสงเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดลอม พ.ศ.2535 ที่กําหนดใหโรงไฟฟาตั้งแต 150 เมกะวัตตขึ้นไปตองทํารายงานผลกระทบทางสิ่งแวดลอม (Environmental Impact Assessment:

EIA) และรายงานผลกระทบทางสุขภาพ (Health Impact Assessment: HIA) สวนโรงไฟฟาขนาด เล็กตั้งแต 10 เมกะวัตตขึ้นไปใหทําเฉพาะ EIA จึงมีผูประกอบกิจการโรงไฟฟาสรางโครงการขนาด 9.0-9.9 เมกะวัตตหลายโครงการในบริเวณเดียวกันเปนจํานวนมากเพื่อหลีกเลี่ยงกฎหมาย ซึ่งเปน การอาศัยชองวางของกฎหมายไมตองทํารายงานผลกระทบทางสิ่งแวดลอม (EIA) อีกทั้งโครงการ ผลิตไฟฟาขนาดเล็กเหลานี้ยังขาดเทคโนโลยีที่ทันสมัย โดยเนนการเผาตรง (directed burning) ซึ่ง เปนเทคโนโลยีที่มีประสิทธิภาพต่ําและสรางมลพิษสูง

แนวทางแกปญหาของภาครัฐ ควรใหอํานาจองคกรปกครองสวนทองถิ่นในการกํากับ ดูแล และแยกประเภทการลงทุนโรงไฟฟาพลังงานชีวมวลเปนกิจการตางหากจากโรงไฟฟาทั่วไป ใหรัฐมนตรีวาการกระทรวงสาธารณสุขออกประกาศใหโรงไฟฟาพลังงานชีวมวลเปนกิจการที่เปน อันตรายตอสุขภาพ รวมทั้งผลักดันใหมีการวางแผนพัฒนากําลังการผลิตไฟฟาของประเทศ การมี

สวนรวมและการรับฟงความเห็นของประชาชนอยางทั่วถึง ตลอดจนกําหนดระยะหางที่เหมาะสม จากชุมชน นอกจากนี้ กระทรวงพลังงานควรทําแผนพลังงานจังหวัด โดยศึกษาพื้นที่ของแตละ จังหวัดวามีศักยภาพในการทําโรงไฟฟาพลังงานชีวมวลหรือไม เพื่อนํามาประกอบการพิจารณา ใบอนุญาต จัดตั้งโรงไฟฟา

นอกจากนี้ยังพบวา ปจจุบันกฎหมายและกระบวนการอนุมัติโครงการไมใหอํานาจ องคกรปกครองสวนทองถิ่น รวมทั้งการมีสวนรวมของประชาชนยังไมทั่วถึงทําใหประชาชนไมมี

โอกาสทําความเขาใจถึงทางเลือกในการผลิตพลังงานไฟฟาในพื้นที่ของตัวเอง และยังพบอีกวา โรงไฟฟาพลังงานชีวมวลซึ่งใชที่ดินชนบทและพื้นที่เกษตรกรรมใกลแหลงวัตถุดิบนั้น ยังไมได

กําหนดระยะหางที่เหมาะสมจากชุมชน ขณะเดียวกันขอกําหนดของผังเมือง ยังมีความแตกตางกัน ในแตละจังหวัด เชน บางจังหวัดหามตั้งโรงไฟฟา แตบางจังหวัดไมมีขอหาม ประเด็นปองกันและ ลดผลกระทบดานสุขภาพจากโรงไฟฟาพลังงานชีวมวล ซึ่งที่ผานมาโรงไฟฟาพลังงานชีวมวลขนาด เล็กสวนหนึ่งสรางผลกระทบสิ่งแวดลอมและสุขภาพของชุมชน เนื่องจากการเผาไหมเชื้อเพลิงตรง ทําใหเกิดควันดํา และเขมาฟุงกระจายไปในอากาศ ดังนั้นหนวยงานที่เกี่ยวของควรตองเรงวาง กฎระเบียบใหโรงไฟฟาพลังงานชีวมวลขนาดเล็กตองทําอีไอเอ (EIA) และมีมาตรการกํากับดูแล ของภาครัฐที่ดีพอ อีกทั้งตองสงเสริมการนําเทคโนโลยีที่ลดผลกระทบสิ่งแวดลอมมาใช รวมทั้ง กําหนดเงื่อนไขในการตั้งโรงไฟฟาประเภทนี้ ใหอยูหางจากชุมชน

อยางไรก็ดี โรงไฟฟาชีวมวลถือเปนแหลงพลังงานทางเลือกที่สําคัญของประเทศไทย แต

ยังมีปญหาที่กอใหเกิดผลกระทบตอสิ่งแวดลอมและสุขภาพของประชาชน ซึ่งจําเปนจะตองมี

มาตรการและแนวทางปองกันและควบคุมผลกระทบตอสุขภาพที่ดี รวมถึงแนวทางและพัฒนา เกณฑมาตรฐานการเยียวยาความเสียหายจากผลกระทบในการประกอบกิจการผลิตไฟฟาที่ไดจาก พลังงานชีวมวล หนวยงานรัฐที่เกี่ยวของในการรับผิดชอบเรื่องดังกลาว ตองนําเขาเปนหนึ่งในผูมี

สวนเกี่ยวของแกไขปญหาและเยียวยาผลกระทบดังกลาวตั้งแตระดับทองถิ่นไปจนถึงระดับประเทศ โดยมีวิธีการดําเนินการแกไขผลกระทบดังกลาวดังนี้ ดังนี้

4.7.1 ประกาศ: โดยใหรัฐมนตรีวาการกระทรวงสาธารณสุขประกาศวา การประกอบ กิจการโรงไฟฟาพลังงานชีวมวลเปนกิจการที่อันตรายตอสุขภาพ การสรางและประกอบกิจการ โรงไฟฟาพลังงานชีวมวลในทุกขนาดจําเปนตองมีแผนปองกันและลดผลกระทบตอสุขภาพ

4.7.2 ปองกัน: โดยใหคณะกรรมการสุขภาพแหงชาตินําเสนอการปองกันและลด ผลกระทบดานสุขภาพจากโรงไฟฟาพลังงานชีวมวลตอคณะรัฐมนตรี เพื่อพิจารณาใหความ เห็นชอบและมอบหมายใหหนวยงานตางๆ ที่เกี่ยวของรับไปดําเนินการ

4.7.3 ประวิงเวลา: โดยสํานักงานคณะกรรมการกํากับกิจการพลังงานรวมกับหนวยงาน ที่เกี่ยวของ ประวิงเวลาการออกใบอนุญาตโรงไฟฟาและปรับปรุงหลักเกณฑการใหใบอนุญาต ดังตอไปนี้

4.7.3.1 สอดคลองกับผังเมือง: พิจารณาถึงตําแหนงที่ตั้งโรงไฟฟาใหสอดคลองกับ ผังเมือง และกําหนดระยะหางที่เหมาะสมระหวางโรงไฟฟากับชุมชน สาธารณะสถาน และแหลงน้ํา สาธารณะ

4.7.3.2 สืบสวนศึกษาผลตอสุขภาพ: กําหนดใหตองศึกษาผลกระทบตอสุขภาพใน ขั้นตอนการอนุมัติอนุญาต โดยใชแนวทางที่ออกโดยสํานักงานคณะกรรมการสุขภาพแหงชาติ

4.7.3.3 เสาะหาและจัดทํามาตรฐาน: หนวยงานที่เกี่ยวของรวมกันจัดทํามาตรฐาน ระดับมลพิษที่ปลอยออกจากปลองโรงไฟฟา คุณภาพเชื้อเพลิง เตาเผา และอุปกรณดักมลพิษ สําหรับโรงไฟฟาพลังงานชีวมวล

4.7.3.4 สนับสนุนใหมีการพัฒนา: หนวยงานที่เกี่ยวของสนับสนุนใหมีการพัฒนาและ ใชเทคโนโลยีที่ทันสมัยและมีมลพิษต่ํา

4.7.3.5 สานตอจัดทําแผน: สําหรับโรงไฟฟาที่ไดดําเนินการไปแลว ใหสานตอ จัดทํา แผนการลดผลกระทบและเยียวยาผูไดรับความเสียหาย

4.7.4 ปกปกษ: โดยใหองคกรปกครองสวนทองถิ่นออกขอกําหนดทองถิ่นเพื่อควบคุม กิจการประเภทนี้ ปกปกษคนในทองถิ่น และใหเผยแพรขอมูลและความรูเรื่องผลกระทบตอสุขภาพ ที่ถูกตองแกสังคม

4.7.5 ประสานงาน: ใหสํานักงานคณะกรรมการกํากับกิจการพลังงานเปนหนวยงาน หลัก ประสานงานและทํางานรวมกับหนวยงานที่เกี่ยวของไดแก กรมโรงงานอุตสาหกรรม กรม โยธาธิการและผังเมือง กรมอนามัย กรมควบคุมมลพิษ ผูแทนจากผูผลิตไฟฟา ผูแทนองคกรเอกชน ผูแทนจากชุมชนที่ไดรับผลกระทบและผูทรงคุณวุฒิดานพลังงาน ทั้งนี้ใหแตละภาคสวนดําเนินการ อยางมีสวนรวมเพื่อกําหนดแนวทางและพัฒนาเกณฑมาตรฐานการกําหนดพื้นที่ และหามาตรการ ควบคุมทางพื้นที่สําหรับโรงไฟฟาพลังงานชีวมวล และปรับปรุงบัญชีประเภทอุตสาหกรรม ประเภทกิจการโรงไฟฟา ใหแบงเปนประเภทยอย เพื่อใหเกิดความชัดเจนในการกําหนดมาตรการ ทางพื้นที่และผังเมืองในการปองกันผลกระทบ

4.7.6 ปรับปรุง: โดยสํานักงานคณะกรรมการสุขภาพแหงชาติ (สช.) ปรับปรุงและ พัฒนาคูมือรวมถึงแนวทางศึกษาผลกระทบตอสุขภาพของคนในพื้นที่โรงไฟฟาพลังงานชีวมวล

4.7.8 การเยียวยาผลกระทบ: โดยการใหคณะกรรมการกํากับกิจการพลังงานเปนหนวยงาน หลักในการตั้งกองทุนเพื่อสรางสรรคมิติใหมของการอยูรวมกันระหวางโรงไฟฟากับชุมชน เปนแนวทางการพัฒนาพลังงานอยางยั่งยืนและแบบอยางที่ดีสําหรับอุตสาหกรรมอื่นๆ โดยเงินที่เขา กองทุนทางคณะกรรมการกองทุนควรพิจารณาพิจารณานําไปใชในการพัฒนาอาชีพ สนับสนุนดาน

การศึกษา ศาสนา วัฒนธรรม ประเพณี กีฬาดนตรี ดานสาธารณสุขและสิ่งแวดลอม การพัฒนา พลังงานหมุนเวียน จัดทําผังเมืองรวมชุมชน พัฒนาคุณภาพชีวิตและบรรเทาความเสียหายใน เบื้องตนจากผลกระทบที่มีสาเหตุจากโรงไฟฟาพลังงานชีวมวล

การปองกันและลดผลกระทบดานสุขภาพของประชาชนจากโรงไฟฟาพลังงานชีวมวลที่

เปนกังวลและหวงใยนั้น ถึงแมวาหนวยงานรัฐจะมีนโยบายสนับสนุนการใชพลังงานชีวมวลซึ่งถือ วาเปนทางเลือกที่ดี แตในทางปฏิบัติการสงเสริมการสรางโรงไฟฟาพลังงานชีวมวลที่ยังขาด หลักเกณฑและมาตรการในการปองกันและควบคุมผลกระทบตอสุขภาพและสิ่งแวดลอม โดยเฉพาะอยางยิ่งโรงไฟฟาขนาดเล็ก ซึ่งจะทําใหการพัฒนาโรงไฟฟาพลังงานชีวมวลไมมีความ ยั่งยืน ประกอบกับปจจุบันผูประกอบกิจการไฟฟาจํานวนมากอาศัยชองวางของกฎหมายในการ จัดตั้งโรงไฟฟาพลังงานชีวมวลที่มีขนาดต่ํากวา 10 เมกะวัตต เพื่อหลีกเลี่ยงการจัดทํารายงาน ผลกระทบดานสิ่งแวดลอมและสุขภาพ ซึ่งการกระทําดังกลาวเปนการไมใหความสําคัญและ ตระหนักถึงสิทธิชุมชนในการมีสวนรวมศึกษาผลกระทบและตัดสินใจในทุกระดับ ซึ่งปจจุบัน หนวยงานรัฐไมมีกลไกการติดตามตรวจสอบ รวมถึงการฟนฟูเยียวยาผูไดรับผลกระทบจาก โรงไฟฟาชีวมวลอยางเหมาะสมเปนธรรม

ซึ่งแนวทางและมาตรการเพื่อแกไขปญหาเพิ่มเติมนั้น ควรที่จะใหคณะกรรมการสุขภาพ แหงชาติเสนอคณะรัฐมนตรีเพื่อพิจารณาใหความเห็นชอบเรื่องการปองกันและลดผลกระทบดาน สุขภาพจากโรงไฟฟาพลังงานชีวมวล และมอบหมายใหหนวยงานตางๆ ที่เกี่ยวของพิจารณาเรงรัด ดําเนินการ โดยใหกรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษพลังงาน สํานักงานคณะกรรมการกํากับ กิจการพลังงาน องคกรปกครองสวนทองถิ่น รวมกับหนวยงานที่เกี่ยวของศึกษาศักยภาพในการ รองรับการพัฒนาโรงไฟฟาพลังงานชีวมวลในภาพรวมของจังหวัด ใหมีการจัดทําแผนพัฒนา พลังงานและแผนแมบทพลังงานชีวมวลของแตละจังหวัด โดยการมีสวนรวมของประชาชนเพื่อ เปนกรอบการพัฒนาและอนุญาตโครงการโรงไฟฟาในแตละพื้นที่ รวมทั้งมีการกําหนดใหกรม โยธาธิการและผังเมืองเปนหนวยงานหลักรวมกับกรมโรงงานอุตสาหกรรม สํานักงาน คณะกรรมการกํากับกิจการพลังงาน สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดลอม องคกรปกครองสวนทองถิ่น และหนวยงานที่เกี่ยวของ ปรับปรุงมาตรฐานและ หลักเกณฑการใชประโยชนที่ดินในผังเมือง เพื่อเปนแนวทางการจัดทําขอกําหนดการใชประโยชน

ที่ดินสําหรับโรงไฟฟาพลังงานชีวมวล ตลอดจนกําหนดใหกรมโรงงานอุตสาหกรรมเปนหนวยงาน หลักรวมกับสํานักงานคณะกรรมการกํากับกิจการพลังงาน กรมโยธาธิการและผังเมือง สํานักงาน นโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมและหนวยงานที่เกี่ยวของดําเนินการปรับปรุง

Garis besar

Dokumen terkait