• Tidak ada hasil yang ditemukan

สถานการณดานพลังงานชีวมวลในประเทศไทย

2. ความหมาย แนวคิดทฤษฎี ความเปนมา ลักษณะทั่วไป รูปแบบ ความสําคัญเกี่ยวกับ

2.4 สถานการณดานพลังงานชีวมวลในประเทศไทย

การใชพลังงานไฟฟาของประเทศไทยมีการใชพลังงานเพิ่มขึ้นอยูตลอดเวลา โดยประเทศ ไทยมีการนําเขาพลังงานฟอสซิลจากตางประเทศเปนจํานวนมากในแตละป อาจทําใหเกิดความไม

มั่นคงทางดานพลังงานได ทั้งที่ประเทศไทยมีศักยภาพในการผลิตพลังงานไฟฟาเปนอยางมาก เชน พลังงานหมุนเวียนประเภทพลังงานชีวมวล เปนตน ซึ่งภาพรวมดานพลังงานชีวมวลของประเทศ สามารถอธิบายไดดังตอไปนี้

      

79 ไชยวัฒน บุนนาค และเยาวรัตน กุหลาบเพ็ชรทอง. (มิถุนายน 2533.) “สัญญาระหวางรัฐกับเอกชน”.

บทบัณฑิตย. หนา 150.

80 ชาญชัย แสวงศักดิ์. อางแลว เชิงอรรถที่ 77. หนา 77-83.

2.4.1 ภาพรวมสถานการณพลังงานชีวมวลในป พ.ศ. 2555

ประเทศไทยมีแหลงพลังงานหลายประเภท แตมีอยูในปริมาณจํากัดเมื่อเทียบกับประเทศ อื่นๆพลังงานหลักที่ใชในประเทศคือน้ํามัน สําหรับการผลิตกระแสไฟฟา การคมนาคมขนสง รวมทั้งเปนวัตถุดิบในการผลิตของอุตสาหกรรมหลายประเภท แตประเทศไทยยังคงตองพึ่งพาการ นําเขาน้ํามันจากตางประเทศเปนจํานวนมากในแตละป81 ยังผลใหประเทศไทยมักไดรับผลกระทบ ทั้งทางดานเศรษฐกิจและสังคมเมื่อเกิดวิกฤตการณของโลก อาทิ สงครามในตะวันออกกลาง การ ลดกําลังผลิตของประเทศผูสงออกน้ํามัน ความตองการน้ํามันที่เพิ่มขึ้นในฤดูหนาวของประเทศแถบ ตะวันตก หรือแมกระทั่งความผันผวนของราคาน้ํามันในตลาดโลกในปจจุบัน

สําหรับการใชไฟฟาของประเทศไทยที่มีการใชไฟฟามากที่สุดคือ สาขาการผลิต ภาคอุตสาหกรรม ยังคงมีสัดสวนการใชมากที่สุด คิดเปนรอยละ 45 ของการใชไฟฟาทั้งประเทศ โดยเพิ่มขึ้นจากปกอนรอยละ 5.3 สาขาธุรกิจ เพิ่มขึ้นรอยละ 4.7 บานและที่อยูอาศัยเพิ่มขึ้นรอยละ 4.7 สาขาเกษตรลดลงรอยละ 11.6 เนื่องจากเกิดภาวะน้ําทวมใหญในหลายจังหวัดเปนเวลานานทํา ใหเกษตรกรไมสามารถใชอุปกรณไฟฟาในการเกษตรไดและสาขาอื่นๆ เพิ่มขึ้นรอยละ 4.9 ประมาณการผลิตไฟฟา คาดวาการผลิตและการซื้อไฟฟาของ การไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย (กฟผ.) จะเพิ่มขึ้นเปน 149,471 กิกกะวัตตชั่วโมงเพิ่มขึ้นรอยละ 5.5 โดยการผลิตไฟฟาจากกาซ ธรรมชาติและถานหิน/ลิกไนตจะเพิ่มขึ้น82 รวมไปถึงการผลิตไฟฟาจากผูผลิตไฟฟาเอกชนรายใหญ

หรือผูผลิตไฟฟาอิสระ (Independent Power Producer: IPP) ผูผลิตไฟฟารายเล็ก (Small Power Producer: SPP) และผูผลิตไฟฟาขนาดเล็กมาก (Very Small Power Producer: VSPP) ที่สงเสริมให

มีการผลิตพลังงานไฟฟา โดยใชพลังงานนอกรูปแบบ ชีวมวล กากหรือเศษวัสดุเหลือใชทาง การเกษตร กาซชีวภาพจากฟารมเลี้ยงสัตวเปนเชื้อเพลิงในการผลิตพลังงานไฟฟาก็จะเพิ่มขึ้น ขณะที่ปริมาณการผลิตไฟฟาจากพลังน้ํา น้ํามันเตา และการนําเขาไฟฟาจะลดลง

ประเทศไทยนับเปนประเทศเกษตรกรรมที่สําคัญแหงหนึ่งของโลก ประชาชนมากกวารอยละ 50 ประกอบ อาชีพเกษตรกรรม ผลพลอยไดที่สําคัญนอกเหนือจากผลผลิตการเกษตร คือ วัสดุเหลือทิ้ง ทางการเกษตร เชน ฟางขาว แกลบ กากออย กาก ใย และทะลายปาลม เปนตน ซึ่งพืชหลักที่ผลิตใน ประเทศไทยจะมีของเหลือที่เกิดการเกษตรปละจํานวนมาก โดยจากพืช 4-5 ชนิดมีของเหลือมากกวา 20 ลานตันที่สามารถนํามาใชงานในการผลิตพลังงานไฟฟาหรือผลิตภัณฑอื่นๆ

      

81 กระทรวงพลังงาน. ม.ป.ป. สถานการณพลังงานภายในประเทศ (ออนไลน). เขาถึงไดจาก: http://old.energy.go.th /moen/ default.aspx . [2555, 16 มีนาคม].

82 กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษพลังงาน (พพ.) กระทรวงพลังงาน. ม.ป.ป. เหตุสําคัญการพัฒนา พลังงานทดแทนของประเทศ (ออนไลน). เขาถึงไดจาก: http://www.dede.go.th/dede/. [2555, 16 มีนาคม].

อยางไรก็ดีประเทศไทยถือไดวาเปนประเทศที่มีศักยภาพในการผลิตพลังงานจากชีวมวล มาก เนื่องดวยประเทศไทยนั้นมีการทําเกษตรกรรมจํานวนมากในแตละปและมีของเหลือใชที่ได

จากการเกษตรจํานวนมากที่สามารถนํามาใชเปนเชื้อเพลิงในการผลิตพลังงานไฟฟา มีขอดีหลาย ประการ เชน ทําใหเกิดการใชประโยชนจากเศษวัสดุเหลือใชทางการเกษตร83 ซึ่งเปนแหลงพลังงาน หมุนเวียน เปนการผลิตกระแสไฟฟาที่เปนมิตรกับสิ่งแวดลอมไมกอใหเกิดสภาวะเรือนกระจก เสริมสรางความมั่นคงตอระบบผลิตไฟฟาเพิ่มขึ้น เปนตน โดยการนํามาใชงานในปจจุบันไดมีการ นําไปใชงานการเผาไหมโดยตรง หากมีการพัฒนาเทคโนโลยีใหมีคุณภาพสูงขึ้นซึ่งสงผลทําใหมี

การใชงานพลังงานจากชีวมวลที่หลากหลายมากขึ้นและมีประสิทธิภาพที่สูง สามารถลดการนําเขา พลังงานจากตางประเทศจํานวนมากในแตละป อีกทั้งสรางความมั่นคงทางพลังงาน ลดความเสี่ยง จากการพึ่งกาซธรรมชาติที่มีอยูในปจจุบัน84 สําหรับพลังงานชีวมวลยังตองมีการพัฒนาอยางเนื่อง และมีการสงเสริมงานวิจัยใหทัดเทียมกับตางประเทศ

2.4.2 แนวโนมการใชพลังงานชีวมวลสําหรับการผลิตไฟฟาในป พ.ศ. 2556

สําหรับแนวโนมในการใชพลังงานชีวมวลของประเทศไทยในป พ.ศ. 2556 ไดมีการ สนับสนุนการใชพลังงานชีวมวลมากขึ้นเรื่อยๆจากภาครัฐ เนื่องจากการใชพลังงานชีวมวลมีการ เจริญเติบโตที่สูงขึ้นอยางตอเนื่อง และความมั่นคงทางพลังงานที่พลังงานจะตองสามารถผลิตไดเอง ภายในประเทศ85 ดังนั้นจึงมีการสนับสนุนการใชงานของเหลือทางเกษตรที่เปนของเหลือทิ้งจํานวน มากในแตละป ทําใหตองเสียคาใชจายในการกําจัดของเหลือทิ้งดังกลาวเปนจํานวนมากในแตละป

ปจจุบันไดมีการสงเสริมการที่ใชงานพลังงานชีวมวลสวนมากจะอยูในรูปการเผาไหมโดยตรงและ การผลิตกระแสไฟฟา ซึ่งพลังงานชีวมวลสามารถนําไปใชทดแทนเชื้อเพลิง เชน น้ํามันเตาหรือถาน หิน โดยไดมีการขยายตัวอยางมากเนื่องจากการสนับสนุนโดยการใหคาเพิ่มในการผลิตไฟฟาตอ หนวยละ 0.3 บาทตอหนวยกําลังไฟฟากิโลวัตต-ชั่วโมง โดยมีเปาหมาย 10 ป ของกระทรวง พลังงานในการใชงานพลังงานชีวมวลมากกวา 3700 เมกะวัตต (Mw) ตั้งแตป พ.ศ. 2554-2565

      

83 เรื่องเดียวกัน.

84 สํานักงานคณะกรรมการกํากับกิจการพลังงาน (กกพ.). กระทรวงพลังงาน. (กุมภาพันธ-มีนาคม 2555).

พลังงานไฟฟาจากพลังงานทดแทน (ออนไลน). วารสารคนกํากับพลังงาน, ปที่ 1 (ฉบับที่ 5). เขาถึงไดจาก:

http://www.erc.or.th. [2555, 16 มีนาคม].

85 กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษพลังงาน (พพ.) กระทรวงพลังงาน. อางแลว เชิงอรรถที่ 82.

โดยประโยชนที่เห็นไดชัดเจนจากการใชพลังงานชีวมวล คือ ทําใหเศรษฐกิจชุมชน เจริญเติบโต โครงการผลิตกระแสไฟฟาจากเชื้อเพลิงชีวมวลสามารถชวยพัฒนาอุตสาหกรรม ตอเนื่องในทองถิ่นไดเปนอยางดี ทําใหเกษตรกรมีรายไดเพิ่มขึ้น เนื่องจากสามารถขายไดทั้งผลผลิต การเกษตรและเศษวัสดุการเกษตร เปนทางเลือกใหมในการผลิตกระแสไฟฟาที่เปนมิตรตอ สิ่งแวดลอม ความมั่นคงในการผลิตกระแสไฟฟาของประเทศจะเพิ่มขึ้น ปญหาไฟตกไฟดับใน พื้นที่หางไกลจะลดลง หากมีโรงไฟฟาขนาดเล็กไปอยูใกลๆ เชน โรงไฟฟาชุมชน เมื่อพลังงานชีว มวลมีความสําคัญและมีประโยชนเชนนี้ รัฐบาลจึงเขามาสงเสริมโดยรณรงคใหภาคเกษตรกรรม อุตสาหกรรมหันมาเห็นความสําคัญของพลังงานชีวมวล สงเสริมอุตสาหกรรมผลิตไฟฟาจาก พลังงานชีวมวล โดยมีมาตรการในการสนับสนุนของรัฐที่เหมาะสมและจูงใจใหเกิดการลงทุนใน เทคโนโลยีที่มีประสิทธิภาพสูง สรางแรงจูงใจในการลงทุนดานพลังงานหมุนเวียนเพื่อความมั่นคง ทางพลังงานของประเทศ86

Garis besar

Dokumen terkait