• Tidak ada hasil yang ditemukan

ภารกิจของรัฐในการจัดหาพลังงาน

3. มาตรการทางกฎหมายเกี่ยวกับการลงทุนโดยตรงในอุตสาหกรรมผลิตไฟฟาจากพลังงาน

3.4 ภารกิจของรัฐในการจัดหาพลังงาน

การจัดหาพลังงานเปนภารกิจหลักของรัฐในการจัดหาพลังงานใหเพียงพอและมีความ มั่นคง ณ ระดับราคาที่เหมาะสม โดยเนนการพัฒนาแหลงพลังงานในประเทศ ทั้งระยะสั้นและระยะ ยาวเพื่อลดการพึ่งพิงแหลงพลังงานฟอสซิสจากตางประเทศ ซึ่งจะชวยลดปญหาการขาดแคลน พลังงานภายในประเทศ การขาดดุลการคาและสูญเสียเงินตราตางประเทศไดอีกทางหนึ่ง นอกจากนี้

รัฐจะตองสงเสริมและสนับสนุนการแขงขันดานพลังงาน เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการจัดหา พลังงานและลดภาระการลงทุนดานพลังงานของรัฐ ขณะเดียวกัน รัฐตองดําเนินการกระตุนเรื่อง การอนุรักษพลังงานและการประหยัดพลังงานดานการใหความรู ปลูกจิตสํานึก และเปลี่ยนพฤติกรรม

 

ของประชาชนใหตระหนักถึงคุณคาและความยากของการไดมาของทรัพยากรพลังงาน ตลอดจน สรางความเขาใจอยางถูกตองกับประชาชน ผลของการประหยัดและอนุรักษพลังงานจะสามารถลด ผลกระทบตอสังคมสวนรวมจากการใชพลังงานอยางฟุมเฟอย ลดผลกระทบตอสิ่งแวดลอม ลด ภาวะโลกรอนที่เปนปญหาสําคัญในปจจุบัน และนํามาซึ่งความปลอดภัย สุขภาพ และการเพิ่ม คุณภาพชีวิตที่ดีใหกับประชาชน ทั้งนี้โดยสํานักงานนโยบายและแผนพลังงาน กระทรวงพลังงาน เปนหนวยงานหลักในการจัดการดานพลังงานของประเทศ ซึ่งภารกิจหลักดานพลังงานดังกลาว มี

กําหนดอยูในพระราชบัญญัติคณะกรรมการนโยบายพลังงานแหงชาติ พ.ศ. 2535 (มาตรา 10)45 พระราชบัญญัติการสงเสริมการอนุรักษพลังงาน พ.ศ. 2535 (มาตรา 4)46 พระราชบัญญัติการ ประกอบกิจการพลังงาน พ.ศ. 2550 (มาตรา 8)47

      

45 พระราชบัญญัติคณะกรรมการนโยบายพลังงานแหงชาติ พ.ศ. 2535. มาตรา 10. อางแลว เชิงอรรถที่ 41.

46 พระราชบัญญัติการสงเสริมการอนุรักษพลังงาน พ.ศ. 2535. มาตรา 4 เพื่อประโยชนในการสงเสริมการอนุรักษ

พลังงานตามพระราชบัญญัตินี้ ใหคณะกรรมการนโยบายพลังงานแหงชาติมีอํานาจหนาที่ดังตอไปนี้

(1) เสนอนโยบาย เปาหมาย หรือมาตรการเกี่ยวกับการอนุรักษพลังงานตอคณะรัฐมนตรี

(2) เสนอตอคณะรัฐมนตรีในการออกพระราชกฤษฎีกาตามมาตรา 8 และมาตรา 18 (3) ใหคําแนะนําในการออกกฎกระทรวงตามมาตรา 9 มาตรา 19 มาตรา 21 และมาตรา 23

(4) กําหนดแนวทาง หลักเกณฑ เงื่อนไข และลําดับความสําคัญของการใชจายเงินกองทุนตามมาตรา 28 (1) (5) กําหนดชนิดของน้ํามันเชื้อเพลิงที่ไมตองสงเงินเขากองทุนตามมาตรา 28 (5)

(6) กําหนดอัตราการสงเงินเขากองทุนสําหรับน้ํามันเชื้อเพลิงตาม มาตรา 35 มาตรา 36 และมาตรา 37 (7) ใหความเห็นชอบอัตราคาธรรมเนียมพิเศษตามมาตรา 43

(8) กําหนดแนวทาง หลักเกณฑ และเงื่อนไขการใหการสงเสริมและชวยเหลือแกโรงงาน อาคาร ผูผลิตหรือ ผูจําหนายเครื่องจักรหรืออุปกรณที่มีประสิทธิภาพสูง และผูผลิตหรือผูจําหนายวัสดุเพื่อใชในการอนุรักษพลังงาน ปฏิบัติการอื่นใดตามที่กําหนดไวในพระราชบัญญัตินี้

การกําหนดตาม (4) และ (6) ใหประกาศในราชกิจจานุเบกษา

47 พระราชบัญญัติการประกอบกิจการพลังงาน พ.ศ. 2550. มาตรา 8 รัฐพึงมีแนวนโยบายพื้นฐานวาดวยกิจการ

พลังงาน ดังตอไปนี้

(1) จัดหาพลังงานใหเพียงพอกับความตองการ มีคุณภาพ มีความมั่นคง และมีระดับราคา

ที่เหมาะสมและเปนธรรม โดยเนนการใชประโยชนและพัฒนาแหลงพลังงานหมุนเวียนและพลังงานที่มีอยู

ภายในประเทศ เพื่อประโยชนในการพัฒนาประเทศอยางยั่งยืน ทั้งในดานสังคม เศรษฐกิจและสิ่งแวดลอม รวมทั้ง ลดการพึ่งพาพลังงานนําเขาจากตางประเทศ

(2) สงเสริมใหมีการใชพลังงานอยางประหยัด มีประสิทธิภาพ และคุมคา รวมถึงสงเสริมการใชเทคโนโลยีที่มี

ประสิทธิภาพและระบบกระจายศูนยในการผลิตไฟฟาเพื่อลดการลงทุนในการใชพลังงาน ลดตนทุนทางดาน

 

รัฐพึงมีแนวนโยบายพื้นฐานวาดวยกิจการพลังงานดังตอไปนี้

1) จัดหาพลังงานใหเพียงพอกับความตองการ มีคุณภาพ มีความมั่นคง และมีระดับราคาที่

เหมาะสมและเปนธรรม โดยเนนการใชประโยชนและพัฒนาแหลงพลังงานหมุนเวียนและพลังงาน ที่มีอยูภายในประเทศ เพื่อประโยชนในการพัฒนาประเทศอยางยั่งยืน ทั้งในดานสังคม เศรษฐกิจ และสิ่งแวดลอม รวมทั้งลดการพึ่งพาพลังงานนําเขาจากตางประเทศ

2) สงเสริมใหมีการใชพลังงานอยางประหยัด มีประสิทธิภาพ และคุมคา รวมถึงสงเสริม การใชเทคโนโลยีที่มีประสิทธิภาพและระบบกระจายศูนยในการผลิตไฟฟาเพื่อลดการลงทุนในการ ใชพลังงาน ลดตนทุนทางดานเชื้อเพลิงในกิจกรรมการผลิต และลดผลกระทบดานสุขภาพและ ผลกระทบขางเคียงอื่น ๆ จากการผลิตและใชพลังงาน รวมทั้งเพิ่มขีดความสามารถในการแขงขัน ทางเศรษฐกิจของประเทศ

3) สงเสริมใหชุมชนทองถิ่นและประชาชนมีสวนรวมในการจัดการและตรวจสอบการ ดําเนินงานดานพลังงาน เพื่อใหมั่นใจวาการจัดการและกําหนดอัตราคาบริการเปนไปดวยความ โปรงใสโดย มีองคกรกํากับดูแลการประกอบกิจการพลังงานทําหนาที่คุมครองผูใชพลังงาน และให

ความเปนธรรมแกทุกฝาย

4) สงเสริมสังคมใหมีความรู ความตระหนัก และพฤติกรรมที่ถูกตองตอการใชพลังงาน อยางประหยัด มีประสิทธิภาพ และคุมคา

      

เชื้อเพลิงในกิจกรรมการผลิต และลดผลกระทบดานสุขภาพและผลกระทบขางเคียงอื่น ๆ จากการผลิตและใช

พลังงาน รวมทั้งเพิ่มขีดความสามารถในการแขงขันทางเศรษฐกิจของประเทศ

(3) สงเสริมใหชุมชนทองถิ่นและประชาชนมีสวนรวมในการจัดการและตรวจสอบการดําเนินงานดาน พลังงาน เพื่อใหมั่นใจวาการจัดการและกําหนดอัตราคาบริการเปนไปดวยความโปรงใสโดยมีองคกรกํากับดูแล การประกอบกิจการพลังงานทําหนาที่คุมครองผูใชพลังงาน และใหความเปนธรรมแกทุกฝาย

(4) สงเสริมสังคมใหมีความรู ความตระหนัก และพฤติกรรมที่ถูกตองตอการใชพลังงานอยางประหยัด มี

ประสิทธิภาพ และคุมคา

(5) สนับสนุนกิจการไฟฟาเพื่อสาธารณูปโภคพื้นฐาน การรักษาความมั่นคงและเชื่อถือไดของระบบไฟฟา โดยรัฐจะเปนผูรับผิดชอบดําเนินการในกิจการระบบโครงขายไฟฟา ศูนยควบคุมระบบไฟฟา โรงไฟฟาพลังน้ํา ซึ่งการไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทยเปนผูประกอบกิจการระบบสงไฟฟา การไฟฟานครหลวงและการไฟฟา สวนภูมิภาคเปนผูประกอบกิจการระบบจําหนายไฟฟารวมทั้งการรักษาสัดสวนกําลังผลิตไฟฟาที่เหมาะสมของ กิจการไฟฟาของรัฐ

 

5) สนับสนุนกิจการไฟฟาเพื่อสาธารณูปโภคพื้นฐาน การรักษาความมั่นคงและเชื่อถือได

ของระบบไฟฟา โดยรัฐจะเปนผูรับผิดชอบดําเนินการในกิจการระบบโครงขายไฟฟา ศูนยควบคุม ระบบไฟฟา โรงไฟฟาพลังน้ํา ซึ่งการไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทยเปนผูประกอบกิจการระบบสง ไฟฟา การไฟฟานครหลวงและการไฟฟาสวนภูมิภาคเปนผูประกอบกิจการระบบจําหนายไฟฟา รวมทั้งการรักษาสัดสวนกําลังผลิตไฟฟาที่เหมาะสมของกิจการไฟฟาของรัฐ

Garis besar

Dokumen terkait