• Tidak ada hasil yang ditemukan

ความสําคัญของอุตสาหกรรมผลิตไฟฟาจากพลังงานชีวมวลที่มีผลตอระบบ

2. ความหมาย แนวคิดทฤษฎี ความเปนมา ลักษณะทั่วไป รูปแบบ ความสําคัญเกี่ยวกับ

2.7 ความสําคัญของอุตสาหกรรมผลิตไฟฟาจากพลังงานชีวมวลที่มีผลตอระบบ

ในบรรดาพลังงานทางเลือกที่มีอยูในประเทศไทย พลังงานชีวมวลถือวามีศักยภาพสูงสุด โดยเห็นไดจากความตื่นตัวในพลังงานทางเลือกจากพลังงานชีวมวล ซึ่งภาครัฐใหความสําคัญเปอยางมา โดยมีเปาหมายที่กําหนดไวแลวของกระทรวงพลังงานที่ตั้งเปาในป พ.ศ. 2556 จะสงเสริมการผลิตไฟฟา จากพลังงานชีวมวลใหได 3,000 เมกะวัตต รองลงมาเปนพลังงานทางเลือกอื่นๆ เชนพลังน้ํา 156 เมกะวัตต พลังลม 115 เมกะวัตต ขยะ100 เมกะวัตต แสงอาทิตย 45 เมกะวัตต และกาซชีวภาพ 60 เมกะวัตต

ศักยภาพของการผลิตชีวมวลในประเทศมีแนวโนมเพิ่มขึ้นในอนาคต89 เนื่องจากปริมาณผลผลิตทาง การเกษตรที่กอใหเกิดชีวมวลมีแนวโนมจะผลิตไดเพิ่มขึ้น อีกทั้งราคาชีวมวลในปจจุบันยังไมแพง เมื่อเทียบกับเชื้อเพลิงสมัยใหมในปริมาณความรอนที่เทากัน90 ทั้งนี้เพราะปจจัยสําคัญหลายประการ เชน การเพิ่มจํานวนพื้นที่เพาะปลูก และการพัฒนาเทคโนโลยีทางการเกษตร เปนตน

เหตุผลที่ภาครัฐใหความสําคัญกับพลังงานชีวมวลก็เพราะประเทศไทยเปนประเทศ เกษตรกรรม เราจึงมีวัสดุเหลือใชจากการเกษตรจํานวนมากไมวาจะเปนแกลบ ฟางขาว ชานออย เศษไม ซึ่งกากวัสดุเหลือใชเหลานี้สามารถนํามาใชเปนเชื้อเพลิงในการผลิตไฟฟาไดเปนอยางดี91 โดยนํามาแปรเปลี่ยนเปนพลังงานที่เรียกวา พลังงานชีวมวล โดยแกลบ ฟางขาว และชานออย ถือเปนวัตถุดิบที่นิยมใชผลิตพลังงานชีวมวลมากที่สุด เนื่องจากพลังงานจากเศษวัสดุเหลานี้

นอกจากจะผลิตกระแสไฟฟาแลว ยังนํามาใชประโยชนไดสารพัด ทั้งใชกับเครื่องยนต การอบ หรือ

บมสินคาเกษตรกรรม สินคาอุตสาหกรรม พลังงานชีวมวลเปนพลังงานหมุนเวียนที่สะอาด มีผลกระทบตอสิ่งแวดลอมนอย เนื่องจากมีปริมาณกํามะถันต่ํากวาเชื้อเพลิงประเภทอื่นที่มาจาก

      

89 แผนแมบทการปฏิรูปรัฐวิสาหกิจสาขาพลังงาน. (2554). วารสารนโยบายพลังงาน. ม.ป.ท.. หนา 4-5.

90 สํานักงานคณะกรรมการกํากับกิจการพลังงาน (กกพ.) กระทรวงพลังงาน. อางแลว เชิงอรรถที่ 84.

91 สํานักงานนโยบายและแผนพลังงาน กระทรวงพลังงาน. (2554). การใชเชื้อเพลิงชีวมวลในการผลิตไฟฟา.

วารสารนโยบายพลังงาน (พิมพครั้งที่ 1), ปที่ 2554 (ฉบับที่ 1). หนา 12.

ฟอสซิล ไมกอใหเกิดกาซเรือนกระจกและลดภาวะโลกรอน นอกจากนี้การนําวัตถุดิบที่มีอยูมาใช

ถือเปนการใชทรัพยากรอยางมีประสิทธิภาพ เกษตรกรก็มีรายไดเพิ่มมากขึ้นจากการขายวัสดุเหลือ ใชทางการเกษตร

เมื่อพลังงานชีวมวลมีความสําคัญและประโยชนเชนนี้ รัฐบาลจึงเขามาสงเสริมโดยการ รณรงคใหภาคเกษตรกรรมอุตสาหกรรมหันมาเห็นความสําคัญของพลังงานชีวมวล สงเสริม อุตสาหกรรมผลิตไฟฟาในระดับครัวเรือนและชุมชน กระตุนการผลิตไฟฟาขนาดเล็กและขนาด กลาง เพื่อใหมีการใชทรัพยากรภายในประเทศอยางมีประสิทธิภาพสูงสุด92

พลังงานจากชีวมวลมีศักยภาพสูงมาก ประมาณกันวารอยละ 40 ของประชากรโลก อาศัย ชีวมวลในการหุงตมและใหความอบอุน และหากพิจารณาเฉพาะปริมาณการใชในประเทศกําลัง พัฒนาทั่วโลกนั้น การใชพลังงานชีวมวลจะมีสัดสวนที่ประมาณรอย 35-40 ของการใชพลังงานทั้งหมด โดยมีประเทศจีนและอินเดียเปนประเทศที่ใชมากที่สุด สําหรับในเอเชียตะวันออกเฉียงใตมี

โครงการพลังงานชีวมวลเกิดขึ้นเปนจํานวนมาก เนื่องจากการใหความสําคัญมากขึ้นและการ เจริญเติบโตทางเศรษฐกิจทําใหจําเปนตองหาพลังงานทางเลือกใหมๆ สําหรับพลังงานชีวมวลสมัย ไมวาจะเปนการใชในกระบวนการอุตสาหกรรม การผลิตกระแสไฟฟาหรือการผลิตเชื้อเพลิง สําหรับภาคการขนสง พบวามีแนวโนมเพิ่มขึ้นในอัตราสูง93

การลงทุนในกิจการสาธารณูปโภคที่เปนปจจัยพื้นฐานของประเทศเปนอีกธุรกิจหนึ่งที่

ไดรับความสนใจจากภาคเอกชนเขามารวมแขงขันมากขึ้น ซึ่งบางครั้งการลงทุนในกิจการผลิต พลังงานไฟฟายังมีความจําเปนตองอาศัยการลงทุนจากตางประเทศซึ่งในประเทศกําลังพัฒนาได

ตระหนักดี สําหรับปจจัยพื้นฐานที่สําคัญในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจของประเทศและแสดงใหเห็นถึง ความเจริญของประเทศ คือ ไฟฟา นอกจากนี้ไฟฟายังเปนปจจัยสําคัญในการผลิตของ ภาคอุตสาหกรรม ดังนั้น เมื่อการการขยายตัวทางเศรษฐกิจและภาคอุตสาหกรรมภายในประเทศสูงขึ้นนั่น หมายถึงความตองการไฟฟายิ่งเพิ่มมากขึ้น เพื่อตอบสนองความตองการที่เพิ่มขึ้นภาครัฐจึงตองมีการ พัฒนาและสงเสริมการลงทุนดานอุตสาหกรรมการผลิตไฟฟาจากพลังงานชีวมวลใหมากขึ้น94

      

92 เรื่องเดียวกัน. หนา 27

93 คณะกรรมการนโยบายพลังงานแหงชาติ. กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษพลังงาน (พพ.) กระทรวง พลังงาน. (2554) . ความสําคัญของแผนพัฒนากําลังการผลิตไฟฟา (แผน Power Development plan: PDP) ของ ประเทศไทย (ออนไลน). เขาถึงไดจาก: http://www.dede.go.th. [2555, 19 มิถุนายน].

94 สํานักงานคณะกรรมการสงเสริมการลงทุน (บีโอไอ). ประกาศคณะกรรมการสงเสริมการลงทุน ที่ 10 /2552.

ประเภท ขนาด และเงื่อนไขของกิจการที่ใหการสงเสริมการลงทุน (ออนไลน). เขาถึงไดจาก: www.boi.go.th.

[2555, 19 มิถุนายน].

ในปจจุบันพลังงานชีวมวลมีบทบาทสําคัญตอระบบเศรษฐกิจของประเทศเปนอยางมาก โดยมีการพัฒนาดานอุตสาหกรรมผลิตไฟฟาจากพลังงานชีวมวล มีการนําเทคโนโลยีขั้นสูงมาใชใน กระบวนการผลิตซึ่งมีสวนสําคัญทําใหเกิดการพัฒนาอุตสาหกรรมผลิตไฟฟามากขึ้น มีการแขงขัน ประกอบการลงทุนในกิจการผลิตไฟฟาขึ้นมากโดยเฉพาะการผลิตไฟฟาจากพลังงานชีวมวล กอใหเกิดประโยชนจากการใชพลังงานชีวมวลที่มีผลตอระบบเศรษฐกิจของประเทศ สามารถแยก อธิบายไดดังตอไปนี้95

2.7.1 ขอบขายทั่วไป

แมวาพลังงานชีวมวลไมไดมีราคาสูสีกับเชื้อเพลิงฟอสซิลภายใตเทคโนโลยีในปจจุบัน และเงื่อนไขของตลาดในหลายประเทศที่พัฒนาแลว การผลิตพลังงานจากชีวมวลมีขอดีที่เปน ประโยชนในดานอื่นๆหลายประการ เชน การลดการปลอยกาซเรือนกระจกจากการเผาไหมของ เชื้อเพลิงฟอสซิลที่เปนสาเหตุของสภาวะโลกรอน สรางงานสรางรายไดจากการพัฒนา อุตสาหกรรมพลังงานชีวมวล และใชวัตถุดิบในทองถิ่นใหเปนประโยชน เพิ่มความมั่นคงใน พลังงานลดการนําเขาจากภายนอกประเทศ แตประโยชนเหลานี้นั้นเทียบไมไดกับราคาการผลิต พลังงานชีวมวล96 การประเมินประโยชนทําใหเราเขาใจภาพรวมของการแขงขันผลิตพลังงานชีว มวล เพื่อการปรับปรุงนโยบายของการพัฒนาการผลิตพลังงานชีวมวล

2.7.2 การลดของปริมาณน้ํามัน

ทรัพยากรปาไมและถานหินเคยอุดมสมบูรณและพอเพียงตอความตองการพลังงาน อยางไร ก็ตามมนุษยไดใชเกินกวาที่จําเปนเพื่อการผลิตพลังงานและเทคโนโลยี ปริมาณน้ํามันของโลกมี

ปริมาณลดลงเกิดความไมแนนอนทางพลังงานประกอบกับความตองการบริโภคน้ํามันของโลกตอวัน เพิ่มขึ้น เมื่อราคาของปโตรเลียมไดทะยานสูงขึ้นอาจจะทําใหเศรษฐกิจทรุดลงถาผูคนไมเปลี่ยนไปใช

พลังงานอื่นแทน การใชพลังงานทดแทนทางเลือกอื่นหรือพลังงานชีวมวลจะทําใหยืดอายุของปริมาณ น้ํามันสํารอง โดยสามารถสะทอนใหเห็นประโยชนของพลังงานชีวมวลไดอยางชัดเชน

2.7.3 ภาวะโลกรอน

เมื่อทั่วโลกมีอัตราการปลอยกาซเรือนกระจก เชน คารบอนไดออกไซคเพิ่มมากขึ้น ซึ่งสงผลกระทบอันตรายของสภาพอากาศของโลก มีการคาดการณวาในทุกๆปจะมีการปลอย

      

95 คณะกรรมการนโยบายพลังงานแหงชาติ. กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษพลังงาน (พพ.) กระทรวง พลังงาน. อางแลว เชิงอรรถที่ 93.

96 คณะกรรมการนโยบายพลังงานแหงชาติ. กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษพลังงาน (พพ.) กระทรวง พลังงาน. อางแลว เชิงอรรถที่ 93.

คารบอนไดออกไซคออกสูบรรยากาศมากกวา 20 ลานเมตริกตัน ถาแนวโนมเปนเชนนี้ไปเรื่อยๆ อาจเกิดภัยธรรมชาติอันรายแรง เชน ปริมาณฝนตกมากผิดปกติ ซึ่งทําใหเกิดน้ําทวม และความแหง แลงผิดสมดุลทั่วไป พลังงานชีวมวลนั้นมาจากสารชีวมวล ซึ่งเปนทรัพยากรในการผลิตพลังงานที่มี

ปริมาณเปนอันดับที่สี่ของโลกรองจากถานหิน ปโตรเลียม และกาซธรรมชาติ ซึ่งสามารถให

พลังงานเทากับ 14 % ของความตองการพลังงานขั้นตนของโลก ดังนั้นพลังงานชีวมวลจึงถือเปน แหลงทรัพยากรพลังงานที่มีความสําคัญตอระบบเศรษฐกิจของโลก

เพื่อที่จะลดการปลอยกาซเรือนกระจกจากการใชพลังงาน นโยบายตางๆไดถูกนําออกมา ใช เชน ภาษีการปลอยกาซ ใบอนุญาตในการปลอยกาซ เปนตน นโยบายบรรเทาเหลานี้สงเสริมขอ ไดเปรียบของการใชของการใชพลังงานชีวมวลแทนเชื้อเพลิงฟอสซิล แตอยางไรก็ตามการที่จะ เปลี่ยนสารชีวมวลเปนพลังงานชีวมวลตองอาศัยพลังงานในการเปลี่ยน ซึ่งสวนใหญมาจากรูปแบบ ตางๆของเชื้อเพลิงฟอสซิล วัฎจักรสมดุลพลังงานของสารชีวมวลนั้นเปรียบเทียบกับเชื้อเพลิงฟอส ซิลควรเปนบวกซึ่งขึ้นกับกระบวนการที่เลือกใช

2.7.4 ยกระดับของคุณภาพชีวิต

เมื่อการเกษตรมีบทบาทสําคัญในระบบเศรษฐกิจ ดังนั้นการเกษตรที่ยั่งยืนจึงจําเปนตอ การยกระดับคุณภาพชีวิตของเกษตรกรและรายได การศึกษาเปนเรื่องสําคัญ เมื่อความรูของผูคนใน ชนบทนั้นไมสูงมาก จึงจําเปนที่จะตองใหขอมูลที่เหมาะสมและเทคโนโลยีแกเกษตรกร เพื่อให

เขาใจในการใชสารชีวมวลเพื่อผลิตเปนพลังงานชีวมวลนําพลังงานชีวมวลมาผลิตเปนกระแสไฟฟา ใชในทองถิ่น อุตสาหกรรมขนาดเล็กและขนาดกลางไดอยางมีประสิทธิภาพ97

2.7.5 เพิ่มรายไดใหเกษตรกร

สองประการที่จะชวยเกษตรกรหนึ่ง คือ ชวยเหลือทางพลังงานเพื่อที่จะไดเขาถึงเชื้อเพลิง ที่เปนประโยชนในประเทศไทย มีการผลิตไฟฟาจากพลังงานชีวมวลเพื่อใชในสถานประกอบการ ทองถิ่นและขายไฟฟาใหกับภาครัฐ นับวาเปนการเกษตรที่ยั่งยืนเนื่องจากลดการใชเชื้อเพลิงฟอสซิ

ลในการผลิตพลังงานไฟฟา สองคือชวยเหลือทางการเงิน เมื่อเกษตรกรปลูกพืชเพื่อนํามาผลิตเปน พลังงานชีวมวลและขายในราคาที่สูงขึ้น ระบบนี้ถือเปนการกระจายรายไดแกชุมชน

2.7.6 ความมั่นคงทางพลังงาน

ในระบบเศรษฐกิจของทุกประเทศโดยเฉพาะอยางยิ่งในประเทศที่พัฒนาแลวบางประเทศ นั้นขึ้นอยูกับปริมาณความมั่นคงทางพลังงาน ความมั่นคงทางพลังงาน หมายถึง ความสอดคลองกัน เพียงพอกับพลังงานที่มีอยู ซึ่งเงื่อนไขเหลานี้ตองทนทานในระยะยาวเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน การให

      

97 คณะกรรมการนโยบายพลังงานแหงชาติ. กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษพลังงาน (พพ.) กระทรวง พลังงาน. อางแลว เชิงอรรถที่ 93.

Garis besar

Dokumen terkait