• Tidak ada hasil yang ditemukan

แนวคิดทฤษฎีและความเปนมาเกี่ยวกับการลงทุนโดยตรง

2. ความหมาย แนวคิดทฤษฎี ความเปนมา ลักษณะทั่วไป รูปแบบ ความสําคัญเกี่ยวกับ

2.3 แนวคิดทฤษฎีและความเปนมาเกี่ยวกับการลงทุนโดยตรง

2.3.1 แนวคิดทฤษฎีและความเปนมาเกี่ยวกับการลงทุนโดยตรง

2.3.1.2 แนวคิดทฤษฎีและความเปนมาเกี่ยวกับการลงทุนโดยตรง

1) ความเปนมา

ประเทศบราซิลเปนประเทศหนึ่งที่มีการพัฒนาพลังงานหมุนเวียนหรือพลังงาน ทางเลือกมาตั้งแตป ค.ศ.1976 ซึ่งปจจุบันมีความสามารถในการขยายการผลิตพลังงานหมุนเวียน ประเภทพลังงานชีวมวลที่ใชเปนพลังงานดานการขนสงและพลังงานไฟฟา เนื่องจากบราซิลยังมี

พื้นที่ที่ยังไมไดใชประโยชนเหลืออยูอีกมาก ทําใหมีโอกาสในการขยายพื้นที่การเกษตรเพิ่มขึ้นการ ผลิตเชื้อเพลิงที่ไดจากพลังงานหมุนเวียนในบราซิล เชน เอทานอลที่ไดจากการผลิตพลังงานจาก ออย ปาชีวมวล สารตกคางและของเสียจากอุตสาหกรรมการเกษตร รวมทั้งไบโอดีเซลที่ใชวัตถุดิบ หลากหลายในการผลิตซึ่งไดจาก ถั่วเหลือง มันสําปะหลัง น้ํามันปาลม เมล็ดฝาย เมล็ดดอก ทานตะวัน สบูดํา และไขมันจากสัตว เปนตน32

รัฐบาลบราซิลเริ่มดําเนินนโยบายสนับสนุนการใชพลังงานทางเลือกอยางจริงจังเมื่อป

ค.ศ. 1994 และออกกฎหมายบังคับการใชพลังงานทางเลือกเพื่อทดแทนพลังงานที่ไดจากฟอสซิล ที่ตองนําเขาจากตางประเทศในปริมาณที่สูง เชน ใหผสมเอทานอลในน้ํามันสําหรับจําหนายทั่วประเทศ (Mandatory Blending) เมื่อป ค.ศ.1995 ปจจุบันใชอัตราสวนผสมของเอทานอลที่รอยละ20-25 (E20-E25 หรือGasolina Comun) โดยไมมีการขายน้ํามัน Gasoline 100% (E0) แลว

ในปจจุบันบราซิลยังตองพึ่งพาการนําเขาพลังงานกาซธรรมชาติจากประเทศโบลิเวีย ปริมาณวันละ 27-30 ลานลูกบาศกเมตรโดยอัตราเฉลี่ยการใชพลังงานภายในประเทศในประเภท น้ํามันรอยละ 37.4 ชีวมวลรอยละ 31.1 (เปนออยรอยละ 15.9 ไมและถานรอยละ 12.0 และอื่น ๆ อีกรอยละ 3.2) พลังน้ํารอยละ 14.9 กาซธรรมชาติรอยละ 9.3 ถานหินรอยละ 6.0 และนิวเคลียรรอย ละ 1.4 ทั้งนี้ ขอมูลจากกระทรวงพลังงานและเหมืองแรบราซิลระบุวา รอยละ 47.3 ของพลังงาน ทั้งหมดในบราซิลมาจากแหลงพลังงานหมุนเวียน (รอยละ 28.3 มาจากพลังงานชีวมวล รอยละ 15.2 มาจากพลังงานน้ํา และรอยละ 3.8 มาจากแหลงอื่น ๆ เชน ไบโอดีเซล) ซึ่งพลังงานทดแทนดังกลาว มีอัตราสูงกวาอัตราการใชพลังงานทดแทนทั่วโลก (รอยละ 14) และของประเทศสหรัฐอเมริกา (รอย ละ 7) อยางไรก็ดี การพัฒนาการใชพลังงานหมุนเวียน อาทิ เอทานอล และไบโอดีเซลแทนการใช

เชื้อเพลิงฟอสซิล ทําใหบราซิลเปนประเทศตนแบบที่ทําใหหลายประเทศหันมาเริ่มใชพลังงาน ทางเลือกจากพืชเกษตร และมีความตองการใชเทคโนโลยีที่มีประสิทธิภาพ33 ซึ่งเปนโอกาสของ

      

32 กรมอเมริกาและแปซิฟกใต กระทรวงการตางประเทศ. (2555). กระบวนการผลิตเชื้อเพลิงชีวภาพในบราซิล (ออนไลน). เขาถึงไดจาก: http://aspa.mfa.go.th. [2555, 10 พฤศจิกายน].

33 เรื่องเดียวกัน.

บราซิลในการเสนอผลิตภัณฑเทคโนโลยีดานการผลิตพลังงานและพลังงานไฟฟาใหแกคูคาจาก ประเทศตางๆ ทั่วโลก

หนวยงานวางแผนดานพลังงานบราซิล (Energy Planning Agency) ภายใตกํากับดูแล ของกระทรวงพลังงานและเหมืองแรบราซิล ใหความสําคัญตองานวิจัยและการพัฒนาเพื่อเพิ่ม ประสิทธิภาพการผลิต โดยมีการประสานและดําเนินงานรวมกันอยางจริงจังกับสถาบันวิจัย และ สถาบันการศึกษาตาง ๆ สงผลใหบราซิลเปนประเทศที่มีการพัฒนาเทคโนโลยีพลังงานหมุนเวียน ดานการผลิตออย น้ําตาลทราย และเอทานอล ที่กาวหนามากที่สุดในโลกประเทศหนึ่ง และมี

ความสามารถในการเพิ่มประสิทธิภาพและลดตนทุนการผลิตไดอยางตอเนื่อง 2) แนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับการใหบริการสาธารณะ

กระแสโลกาภิวัตน (Globalization) ความเจริญกาวหนาทางเทคโนโลยีและกลไก การตลาด กอใหเกิดการเติบโตทางเศรษฐกิจ การผลิต การบริโภคที่เปนผลเสียขาดความรับผิดชอบ ตอสิ่งแวดลอม ชีวิตมนุษย สัตว และพืชพรรณ สําหรับการใหบริการสาธารณะในประเทศบราซิล ไดกลาวถึงแนวคิดของการใหบริการสาธารณะที่สําคัญ34 คือ

(1) บริการสาธารณะ (Public Service Delivery) เปนกิจกรรมที่อยูในความอํานวยการหรือ ในความควบคุมของภาครัฐที่จะตองจัดใหบริการสาธารณะพื้นฐาน เชน ไฟฟา น้ําประปา โทรคมนาคม เปนตน

(2) บริการสาธารณะมีวัตถุประสงคในการสนองความตองการสวนรวมของ ประชาชน โดยที่ภาครัฐ (Providers) มีหนาที่จัดทําบริการสาธารณะเพื่อตอบสนองประชาชน (Recipients) หรือมอบหมายใหภาคเอกชนเขาไปดําเนินการจัดทําบริการสาธารณะแทนรัฐ

(3) วิธีดําเนินบริการสาธารณะยอมจะแกไขเปลี่ยนแปลงไดเสมอเพื่อใหเหมาะสมแก

ความจําเปน ซึ่งภาครัฐตองสามารถแกไขเปลี่ยนแปลงสําหรับบริการสาธารณะอยูเสมอ

(4) บริการสาธารณะจะตองจัดดําเนินการอยูเปนนิจและโดยสม่ําเสมอไมมีการ หยุดชะงัก ถาบริการสาธารณะจะตองหยุดชะงักลงดวยประการใด ๆ ประชาชนยอมไดรับความ เดือดรอนหรือไดรับความเสียหาย เชน ไฟฟาตก ไฟฟาดับ น้ําประปาไมไหล เปนตน

(5) เอกชนยอมมีสิทธิที่จะไดรับประโยชนจากบริการสาธารณะเทาเทียมกัน จากแนวคิดดังกลาวขางตนถึงแมวาจะมองแนวคิดของการใหบริการสาธารณะ

(6) ความเสมอภาคเทาเทียมกัน (Universalism) หมายถึง การใหบริการสาธารณะแก

ประชาชนจะตองไมเลือกปฏิบัติ

      

34 สถานเอกอัครราชทูต ณ กรุงบราซิลเลีย. (2555). การใหบริการสาธารณะของประเทศบราซิล (ออนไลน) เขาถึงไดจาก: http://www.thaiembassybrazil.com. [2555, 10 พฤศจิกายน].

(7) การวางตัวเปนกลาง (Affective Neutrality) เปนการใหบริการของรัฐหรือเอกชน โดยไมใชอารมณ บริการดวยกริยาทาทาง น้ําเสียงที่สุภาพ

3) ทฤษฎีเกี่ยวกับหนาที่ของรัฐในการจัดหาสาธารณูปโภค

การจัดหาสาธารณูปโภคเพื่อการบริการสาธารณะมีวัตถุประสงคในการสนองความ ตองการการมีสวนรวมของประชาชน โดยที่ภาครัฐ (Providers) มีหนาที่จัดทําบริการสาธารณะ เพื่อตอบสนองประชาชน (Recipients) หรือกรณีที่ฝายรัฐไมสามารถดําเนินการเองไดมอบหมายให

ภาคเอกชนเขาไปดําเนินการจัดทําบริการสาธารณะแทนรัฐ ในลักษณะการอนุญาตใหดําเนินการ หรือสัมปทาน เชน สัมปทานไฟฟา ประปา โทรคมนาคม เปนตน

ปจจุบันระบบสาธารณูปโภคของบราซิลยังไมครอบคลุมทั้งประเทศโดยเฉพาะระบบ ไฟฟาและโครงสรางคมนาคม ทําใหมีปญหาในการใหบริการแกประชาชน จึงเปนหนาที่รัฐตองเรง การลงทุนในการกอสรางสาธารณูปโภคขั้นพื้นฐานในประเทศเพิ่มขึ้น เนื่องจากตองการ สาธารณูปโภคขั้นพื้นฐานเพื่อรองรับการขยายตัวของเมืองที่เกิดขึ้นและการขยายตัวทางเศรษฐกิจ ของประเทศ35

รัฐบาลบราซิลจึงมีแนวคิดกระตุนใหบริษัทเอกชนในประเทศไดรับโอกาสการลงทุน กอสรางระบบสาธารณูปโภคและนักลงทุนตางชาติ โดยเฉพาะในอุตสาหกรรมที่เกี่ยวกับระบบ สาธารณูปโภค เชน ไฟฟา ประปา คมนาคม เปนตน นอกจากนี้ การที่ระบบสาธารณูปโภคของ บราซิลยังไมไดรับการพัฒนามากนัก ทําใหบราซิลมีความตองการดานเครื่องจักรสําหรับการ กอสรางทาเรือ ถนน และรถไฟเปนอยางยิ่ง ในอนาคตเปนที่คาดการณวาประชากรบราซิลจะมี

รายไดสูงขึ้น ทําใหมีความตองสินคาอิเล็กทรอนิกสเพิ่มมากขึ้นไปดวย36 อยางไรก็ตาม ยังมีขอจํากัด ที่สําคัญหลายประการ คือ การตอตานสินคาจากภายนอกประเทศของผูประกอบการในบราซิล รวมถึงอัตราภาษีของบราซิลที่สูงมากโดยเฉพาะในกลุมสินคาอุปโภคบริโภค

4) แนวคิดเกี่ยวกับการลงทุนโดยตรงในอุตสาหกรรมผลิตไฟฟาจากพลังงานชีวมวล ในประเทศสหพันธรัฐบราซิล

(1) แผนพัฒนาพลังงานชีวมวลของบราซิล

หนวยงานรัฐดานพลังงานของบราซิลจัดไดจัดทําแผนพัฒนาดานพลังงานหมุนเวียน ดังนี้

ขั้นที่ 1 : เปนผูนําดานอันดับหนึ่งดานพลังงานชีวมวล (Generation Biomass) จากเทคโนโลยี

และการคา (Traditional Technology)

ขั้นที่ 2 : ศึกษาคนควาพัฒนาดานพลังงานชีวมวล (R&D)

      

35 เรื่องเดียวกัน.

36 สถานเอกอัครราชทูต ณ กรุงบราซิลเลีย. อางแลว เชิงอรรถที่ 34.

ขั้นที่ 3 : พัฒนาเทคโนโลยีดานพลังงานทางเลือก (Agro-Biotechnology) จาก seed and enzyme technology

โดยมีเปาหมายสูงสุด คือ เปนผูนําของโลกทางดานพลังงานหมุนเวียนและสงเสริม ผลักดันใหชีวมวลเปนพลังงานทางเลือกที่สําคัญของโลก

(2) พลังงานที่สําคัญสําหรับการผลิตไฟฟา

ปจจุบันถือไดวาประเทศบราซิลใชพลังงานทางเลือกในอัตราที่สูงประมาณรอยละ 47.3 ของพลังงานที่ใชในประเทศทั้งหมด ซึ่งนับไดวาเปนประเทศผูนําอันดับ 1 ในการใชพลังงาน ทางเลือก อาทิเชน เอทานอลในภาคการขนสง พลังงานชีวมวลในการผลิตไฟฟา โดยเฉพาะ โรงงานผลิตเอทานอลของบราซิลเกือบทุกแหงสามารถผลิตไฟฟาใชเองจากกระบวนการผลิต เชื้อเพลิงเหลวจากพืช โดยมีกระบวนการที่ใชผลิตคือ กระบวนการทางชีวภาพทําการยอยสลายแปง น้ําตาล และเซลลูโลสจากพืชทางการเกษตร เชน ชีวมวลจากออย เศษลําตนออย กากน้ําตาล (Molases) ใหเปนเอทานอลเพื่อใชเปนเชื้อเพลิงเหลวในเครื่องยนตเบนซิน รวมทั้งกระบวนการทาง ฟสิกสและเคมีโดยการสกัดน้ํามันออกจากพืชน้ํามัน จากนั้นนําน้ํามันที่ไดไปผานกระบวนการท รานสเอสเตอริฟเคชั่น (Transesterification) เพื่อผลิตเปนไบโอดีเซลโดยกระบวนการใชความรอน สูง เชน กระบวนการไพโรไลซิส (Pyrolysis) ซึ่งเปนกระบวนการที่ใหความรอนแกสารใดสารหนึ่ง เพื่อยอยสลายโมเลกุลของสารนั้นใหมีขนาดเล็กลงในบรรยากาศที่ปราศจากออกซิเจนหรือมี

ออกซิเจนนอย แตดวยกระบวนการผลิตและสภาวะที่แตกตางกันทําใหวัสดุทางการเกษตรไดความ รอนสูงในสภาพไรออกซิเจนจะเกิดการสลายตัว เกิดเปนเชื้อเพลิงในรูปของเหลวและแกสผสมกัน37 ซึ่งสงผลใหการขยายพื้นที่เพาะปลูกออยและพืชน้ํามันในประเทศขยายตัวอยางรวดเร็วถึง 268 เปอรเซ็นต ในป ค.ศ. 2007 เมื่อเทียบป ค.ศ. 1976 มีแค 36 เปอรเซ็นต ปจจุบันรัฐบาลบราซิลได

จัดทําแผนโดยหนวยงานดานพลังงานของรัฐตั้งแตป ค.ศ. 2008-2010 จะอยูในชวง การศึกษาพัฒนา ผลิตภัณฑ ป ค.ศ. 2011-2015 จะอยูในชวงการพัฒนาโรงงานผลิต และป ค.ศ. 2016-2030 ชวงขยาย เปนเชิงพาณิชยแบบเต็มรูป ในขณะนี้ประเทศบราซิลกําลังเรงศึกษาพัฒนาการผลิตเอทานอลจาก ชานออยรวมถึงการพัฒนาโรงงานผลิตไฟฟาจากชีวมวลกากน้ําตาล ซึ่งคาดวาจะสามารถขยายกําลัง การผลิตสูระดับอุตสาหกรรมไดภายในป ค.ศ. 2015 ที่กําลังการผลิต 220 ลิตรเอทานอลตอชานออย 1 ตัน อีกทั้งทําการเรงศึกษาการผลิตไบโอดีเซลจากสาหราย และการผลิตไฟฟาจพลังงานชีวมวล จากชานออยควบคูกันไปดวย

(3) นโยบายพัฒนากําลังการผลิตพลังงานไฟฟา

      

37 สํานักงานกองทุนออยและน้ําตาล (Office of The Cane And Sugar Fund). (2555). โครงการศึกษาวิจัยผลพลอยได

จากการผลิตน้ําตาล (ออนไลน). เขาถึงไดจาก: http://www.ocsf.or.th/research.html. [2555, 7 ธันวาคม].

Garis besar

Dokumen terkait