• Tidak ada hasil yang ditemukan

อีเล็กทรอนิกสนี้ ควร ใหมีภาพเคลื่อนไหว ประกอบดวยหรือไม

ถามีควรมีในลักษณะ อยางไรจึงจะเหมาะสม กับบทเรียน และทําให

ผูเรียนรูสึกราบรื่นใน การเรียนรู

- ควรใชภาพที่

นาสนใจ หรือดึงดูด ความสนใจของผูเรียน ได

- ใชภาพเคลื่อนไหว เพื่อกระตุนใหผูเรียน ไดเรียนรูอยาง สนุกสนานมากยิ่งขึ้น

- ควรจะมี

ภาพเคลื่อนไหวที่มี

สวนทําใหการอธิบาย เนื้อหาชัดเจนยิ่งขึ้น - ไมควรมี

ภาพเคลื่อนไหวที่ไร

ความหมายมากเกินไป อาจทําใหผูเรียนสนใจ ภาพเคลื่อนไหว มากกวาบทเรียน

- -ถามี

ภาพเคลื่อนไหว ประกอบจะทําให

บทเรียนนั้นนาสนใจ มากขึ้น

- ควรจะเปนสวนเนน ของเรื่องที่เราจะสอน ไมใชเปนการ

เคลื่อนไหวอยางอื่น เพราะจะทําใหเนื้อหา ที่จะเนนขาดความใน ใจลง

- ควรจะเนนเฉพาะ สวนเคลื่อนไหวที่

ตองการ

ตารางที่ 3 (ตอ)

หัวขอการสัมภาษณ ผูเชี่ยวชาญทานที่ 1 ผูเชี่ยวชาญทานที่ 2 ผูเชี่ยวชาญทานที่ 3

6. ขอเสนอแนะอื่น ๆ - ในการสรางบทเรียน

ควรคํานึงถึงวัยและ ระดับความยากงาย ของเนื้อหา - ตองยึดผูเรียนเปน สําคัญ

- ควรมีการประเมิน ผูเรียนหลังเรียนจบบท นั้น ๆ

- อาจมีการประเมิน เปนระยะ - ประเมินรวมกัน เพื่อใหผูเรียนได

ตรวจสอบความเขาใจ ของตนเองดวย เชน เมื่อนําเสนอบทเรียน แตละตอนแลว - มีการนําไปประยุกต

ใชในชีวิตประจําวัน

- คําถามชวนคิด เพื่อ กระตุนใหผูเรียนนํา ความรูที่ไดจาก การศึกษาบทเรียนไป

2. การสรางและพัฒนาบทเรียนสื่อสไลดอิเล็กทรอนิกส

ในการวิจัยครั้งนี้ ผูวิจัยไดสรางบทเรียนสไลดอีเล็กทรอนิกส สาระการเรียนรู

คณิตศาสตร เรื่องรูปทรงและปริมาตรของทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก สําหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษา ปที่ 5 โดยไดวางแผนและกําหนดขั้นตอนในการสรางดังนี้

2.1 นําผลวิเคราะหจากผูเชี่ยวชาญทั้งสองดาน คือผูเชี่ยวชาญดานเนื้อหาสาระ การเรียนรูคณิตศาสตรและผูเชี่ยวชาญดานสไลดอิเล็กทรอนิกส มาเขียนบท (Script) เพื่อเปน แนวทางในการสรางสไลดอีเล็กทรอนิกส แลวนําไปใหผูเชี่ยวชาญดานเนื้อหาสาระการเรียนรู

คณิตศาสตรและผูเชี่ยวชาญดานสไลดอิเล็กทรอนิกสตรวจสอบความถูกตองและความเหมาะสม

พรอมทั้งนําขอเสนอแนะตาง ๆ มาปรับปรุงบท (Script) ของสไลดอิเล็กทรอนิกส (ตัวอยาง ดูภาคผนวก ช )

2.2 นําบทที่ปรับปรุงแลว ไปสรางบทเรียนสไลดอิเล็กทรอนิกสเพื่อใหอาจารยที่

ปรึกษา ผูเชี่ยวชาญดานเนื้อหาสาระการเรียนรูคณิตศาสตรและผูเชี่ยวชาญดานสไลดอิเล็กทรอนิกส

ตรวจสอบความถูกตอง (รายละเอียดดูภาคผนวก ฉ หนา 116) โดยใชแบบประเมินคุณภาพสื่อสไลด

อิเล็กทรอนิกส ของ กระทรวงศึกษาธิการ เพื่อหาประสิทธิภาพบทเรียน แสดงผลดังตารางที่ 5

โดยแบงเปนดานเนื้อหา 3 ทานและดานสไลดอิเล็กทรอนิกส 3 ทาน กรรมการประเมินคุณภาพสื่อ สวนรายการประเมิน

ทานที่

1

ทานที่

2

ทานที่

3

ทานที่

4

ทานที่

5

ทานที่

6

คาเฉลี่ย (X ) 1. สวนนําของบทเรียน 4.00 5.00 4.00 4.00 4.00 4.00 4.16 2. สวนของเนื้อหาบทเรียน 4.83 5.00 4.17 4.33 4.83 4.67 4.63

3. การใชภาษา 5.00 5.00 4.00 4.00 5.00 5.00 4.67

4. การออกแบบระบบการสอน 4.50 4.17 4.33 3.83 4.17 4.50 4.25 5. สวนประกอบดานMultimedia 5.00 4.00 4.00 4.75 4.25 4.25 4.37 6. การออกแบบปฏิสัมพันธ 5.00 3.50 4.50 4.00 4.00 4.00 4.16 รวมคะแนนเฉลี่ย 4.72 4.45 4.16 4.15 4.37 4.40 4.37*

แปลความหมาย เหมาะ สมมาก ที่สุด

เหมาะ สมมาก

เหมาะ สมมาก

เหมาะ สมมาก

เหมาะ สมมาก

เหมาะ สมมาก

เหมาะ สมมาก

จากตารางที่ 4 จากผลการประเมินของคณะกรรมการประเมินคุณภาพสื่อสไลด

อิเล็กทรอนิกสจํานวน 6 ทานโดยแบงเปนดานเนื้อหาคณิตศาสตร 3 ทานและดานสไลด

อิเล็กทรอนิกส 3 ทาน ไดคาคะแนนเฉลี่ย (X ) = 4.37 เมื่อนํามาเทียบเกณฑคาเฉลี่ยจะไดที่ชวง

คาเฉลี่ย 3.51- 4.50 หมายถึง มีคุณภาพเหมาะสมมาก แสดงวาสื่อสไลดอิเล็กทรอนิกสสาระ การเรียนรูคณิตศาสตร เรื่องรูปทรงและปริมาตรของทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก สํารับนักเรียน ชั้นประถมศึกษาปที่ 5 ผานเกณฑการประเมินมีคุณภาพเหมาะสมมาก สามารถนําไปทดลองกับกลุม

ทดลองตอไป สําหรับความคิดเห็นของผูเชี่ยวชาญสรุปไดดังนี้

ตารางที่ 5 สรุป ความคิดเห็นจากกรรมการประเมินคุณภาพสื่อ ทั้ง 6 ทาน

หัวขอความคิดเห็น สรุปรวมจากผูเชี่ยวชาญทั้ง 6 ทาน 1. สวนนําของบทเรียน ควรเปนสื่อที่ทําใหผูเรียนเขาใจงาย มีคําแนะนํากอน

ใชบทเรียน จะทําใหผูเรียนเขาใจขั้นตอนการใชสื่อ ไดมากขึ้น

2. เนื้อหาของบทเรียน ตองมีความเหมาะสม กระชับ เขาใจงาย 3. การใชภาษา ใหมีความเหมาะสมกับวัย และผูเรียน

4. การออกแบบระบบการเรียนการสอน ควรมีขั้นตอนการนําเสนอที่ชัดเจน เรียงลําดับเนื้อหา ไดดี

5. สวนประกอบดานมัลติมีเดีย ควรมีความเปนระเบียบ ดูสบายตา และมีเสียงกระตุน ความสนใจของผูเรียนที่ดี

6. การออกแบบปฏิสัมพันธ ควรเพิ่มการปฏิสัมพันธกับผูเรียนใหมากขึ้น จะทําให

ผูเรียนสนใจที่จะเรียนรูมากขึ้น

จากขอเสนอแนะจากผูเชี่ยวชาญทั้ง 6 ทาน ผูวิจัยไดนําไปปรับปรุง แกไขบทเรียน สไลดอิเล็กทรอนิกสตามขอเสนอแนะ

2.3 นําบทเรียนสไลดอิเล็กทรอนิกสที่ไดรับการปรับปรุงแกไขเรียบรอยแลวไป ทดลองใชกับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 5 ในเขตพื้นที่การศึกษานนทบุรี เขต 1 เพื่อหา ประสิทธิภาพของสื่อดังนี้

2.3.1 ขั้นทดลองเดี่ยว (One – to – one Tryout) ทดลองกับนักเรียน 3 คน โดยเลือกนักเรียนที่มีผลการเรียนสูง ปานกลาง และต่ํา ที่เรียนสาระการเรียนรูคณิตศาสตรใน ชั้นประถมศึกษาปที่ 5 โรงเรียนไทยรัฐวิทยา 55 (วัดโบสถดอนพรหม) อําเภอเมือง จังหวัดนนทบุรี

จุดประสงคเพื่อปรับปรุงสื่อสไลดอิเล็กทรอนิกส ใหมีความเหมาะสมกอนที่จะนําไปใชทดลองใน ภาคสนาม โดยทดลองทีละคนกับกลุมตัวอยางจํานวน 3 คน ที่เรียนกลุมสาระการเรียนรูนักเรียน ชั้นประถมศึกษาปที่ 5 โรงเรียนไทยรัฐวิทยา 55 (วัดโบสถดอนพรหม) แลวสังเกตขณะทดลองวามี

สวนใดบกพรองบาง แลวให นักเรียนกรอกแบบสอบถามความคิดเห็น ความสอดคลองทางดาน ภาษา แลวนําผลที่ไดมาวิเคราะหหาประมาณการของประสิทธิภาพของบทเรียนในเกณฑ 60/60

(One- to-one Tryout)

คะแนนทดสอบระหวางเรียน นักเรียน (3 คน) ตอนที่ 1

(10 คะแนน)

ตอนที่ 2 (10 คะแนน)

ตอนที่ 3 (10 คะแนน)

คะแนนการทดสอบ หลังเรียน (30 คะแนน)

คะแนนเฉลี่ย (x) 6.33 5.67 7.00 19.67

สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 0.47 0.47 0.82 1.25

เฉลี่ยรอยละ 63.33 56.67 70.00 66.00

คาประสิทธิภาพ E1/E2 63.33 66.00

จากตารางที่ 6 พบวาสไลดอิเล็กทรอนิกส กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร

เรื่องรูปทรงและปริมาตรของทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก ที่ผานการทดลองหาประสิทธิภาพพบวา รอยละ ของคะแนนเฉลี่ยของคะแนนการทดสอบระหวางเรียนมีคาเทากับ 63.33 และรอยละของคาคะแนน เฉลี่ยของคะแนนการทดสอบ หลังเรียนมีคาเทากับ 66.00 แสดงวา ประสิทธิภาพของสไลด

อิเล็กทรอนิกส มีคาเทากับ 63.33/66.00 ผูวิจัยไดนําขอบกพรองที่ไดมาวิเคราะหและนําไป ปรับปรุง ดังนี้

1. ปรับปรุงแกไขรูปภาพใหใหญชัดเจน

2. ปรับปรุงแกไขภาษาใหกระชับสื่อความหมายใหตรงตามความตองการ 3. ปรับปรุงสีตัวอักษรใหดูสบายตาขึ้น

2.3.2 ขั้นทดลองแบบกลุมยอย (Small Group Tryout) ทดลองกับนักเรียน 3

ระดับ โดยเลือกนักเรียนที่มีผลการเรียนสูง ปานกลาง และต่ํา กลุมละ 3 คน รวมทั้งสิ้น 9 คน ที่เรียนสาระการเรียนรูคณิตศาสตรในชั้นประถมศึกษาปที่ 5 โรงเรียนไทยรัฐวิทยา 55 (วัดโบสถดอนพรหม) อําเภอเมือง จังหวัดนนทบุรี ซึ่งมีการทดสอบผูเรียนจากแบบฝกหัดระหวาง

เรียนและแบบทดสอบหลังเรียน แลวนําผลที่ไดมาวิเคราะหหาประมาณการของประสิทธิภาพ สไลด

อิเล็กทรอนิกส

ตารางที่ 7 แสดงการวิเคราะหหาประสิทธิภาพของสไลดอิเล็กทรอนิกส ขั้นการทดลองแบบกลุม (Small Group Tryout)

คะแนนทดสอบระหวางเรียน นักเรียน (9 คน) ตอนที่ 1

(10 คะแนน)

ตอนที่ 2 (10 คะแนน)

ตอนที่ 3 (10 คะแนน)

คะแนนการทดสอบ หลังเรียน (30 คะแนน)

คะแนนเฉลี่ย (x) 7.56 6.77 7.11 21.00

สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (SD.) 1.34 0.78 1.37 2.86

เฉลี่ยรอยละ 75.55 67.78 71.10 70.00

คาประสิทธิภาพ E1/E2 71.47 70.00

จากตารางที่ 7 พบวาสไลดอิเล็กทรอนิกส กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร

เรื่องรูปทรงและปริมาตรของทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก สําหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 5 ที่ผานการ ทดลองหาประสิทธิภาพพบวารอยละของคะแนนเฉลี่ยของคะแนนการทดสอบระหวางเรียนมีคา เทากับ 71.47 และรอยละของคาคะแนนเฉลี่ยของคะแนนการทดสอบหลังเรียนมีคาเทากับ 70.00 แสดงวา ประสิทธิภาพของสไลดอิเล็กทรอนิกส กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร เรื่องรูปทรงและ ปริมาตรของทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก สําหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 5 มีประสิทธิภาพ 71.47/70.00 และผูวิจัยไดทําการปรับปรุงแกไขขอบกพรองเพิ่มเติม กอนใชกับกลุมตัวอยางจริงตอไปดังนี้

1. ปรับปรุงขนาดของตัวอักษรใหใหญชัดเจนขึ้น

2. ปรับปรุงภาพกราฟกที่ใชใหมีความสอดคลองและตรงตามเนื้อหา 3. เพิ่มเสียง เพื่อเราความสนใจ

2.4 การทดลองภาคสนาม (Field Try out) คือนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 5 โรงเรียนไทยรัฐวิทยา 55 (วัดโบสถดอนพรหม) อําเภอเมือง สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษานนทบุรี

เขต 1 ที่ยังไมเคยเรียนสาระการเรียนรูคณิตศาสตร เรื่องรูปทรงและปริมาตรของทรงสี่เหลี่ยมมุม ฉาก โดยทําการสุมตัวอยางนักเรียนแบบเจาะจง ดําเนินการทดลองภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา 2549 ใน ขั้นตอนนี้ มีจุดมุงหมายเพื่อทดสอบประสิทธิภาพของสไลดอิเล็กทรอนิกส โดยทําการทดลองกับ กลุมตัวอยางที่เลือกไวจํานวน 30 คน นําผลการทดสอบผูเรียนจากแบบทดสอบกอนเรียน แบบฝกหัดระหวางเรียนและจากแบบทดสอบหลังเรียน แลวนําผลการทดลองที่ไดมาวิเคราะหหา ประสิทธิภาพของบทเรียนตามเกณฑ 70/70 โดยใชสูตร E1/E2 และใหตอบแบบสอบถามความคิดเห็น ตอสไลดอิเล็กทรอนิกส