• Tidak ada hasil yang ditemukan

P คือ คาความยากงาย

R คือ จํานวนคนที่ทําขอนั้นถูก N คือ จํานวนคนที่ทําขอนั้นทั้งหมด

4. การวิเคราะหคาอํานาจจําแนก (r) ของแบบทดสอบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน โดยใชสูตร (ลวน สายยศ และอังคณา สายยศ 2536 : 179)

r =

2 N

R

E

2 =

×100

B N

F

E

2 คือ ประสิทธิภาพของผลลัพธ

F คือ คะแนนรวมของการทดสอบหลังเรียน B คือ คะแนนเต็มของการทดสอบหลังเรียน N คือ จํานวนนักเรียนกลุมตัวอยาง

สถิติที่ใชในการวิเคราะหขอมูล

1. ทดสอบนัยสําคัญความแตกตางของผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของกลุมตัวอยาง ระหวางคะแนนเฉลี่ยของการทดสอบกอนเรียนและหลังเรียน โดยใชสถิติทดสอบแบบ Dependent t – test ดวยโปรแกรมคอมพิวเตอร SPSS for Windows

2. หาคาสถิติพื้นฐานในการวิเคราะหขอมูล คือ 2.1 คารอยละ (Percentage)

X =

×100

N X

X คือ คะแนนรอยละ

X คือ ผลรวมของคะแนนทั้งหมด N คือ จํานวนนักเรียนกลุมตัวอยาง

2.2 คาคะแนนเฉลี่ย (Mean) โดยใชสูตรดังนี้ (ลวน สายยศและอังคณา สายยศ 2536 : 59)

X =

N

X

X คือ คะแนนเฉลี่ย

X คือ ผลรวมของคะแนนทั้งหมด N คือ จํานวนนักเรียนกลุมตัวอยาง

อังคณา สายยศ 2536 : 64)

S =

( )

( 1)

2 2

N N

fx fx

N

S คือ ความเบี่ยงเบนมาตรฐาน N คือ จํานวนนักเรียนกลุมตัวอยาง X คือ คะแนนแตละตัวในกลุมตัวอยาง f คือ ความถี่

3. การแปลความหมายของแบบสอบถามความคิดเห็นที่ไดรับจากคะแนนเฉลี่ยเปน ระดับความคิดเห็น โดยใชเกณฑสัมบูรณ (Absolute Criteria) ดังนี้ (อางถึงใน สมบูรณ ทยาภัทร 2545 : 88)

คาเฉลี่ย 4.15 – 5.00 หมายถึง ระดับมากที่สุด คาเฉลี่ย 3.51 – 4.50 หมายถึง ระดับมาก

คาเฉลี่ย 2.51 – 3.50 หมายถึง ระดับปานกลาง คาเฉลี่ย 1.51 – 2.50 หมายถึง ระดับนอย คาเฉลี่ย 1.00 – 1.50 หมายถึง ระดับนอยที่สุด

บทที่ 4 ผลการวิเคราะหขอมูล

การวิจัยเรื่อง การพัฒนาบทเรียนสไลดอิเล็กโทรนิกส กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร

เรื่องรูปทรงปริมาตร ของทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก สําหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 5 สํานักงาน เขตพื้นที่การศึกษานนทบุรี เขต 1 ผูวิจัยนําเสนอผลการวิจัย เปน 3 ตอน ดังนี้

ขั้นตอนที่ 1 ประสิทธิภาพของ บทเรียนสไลดอิเล็กทรอนิกส กลุมสาระการเรียนรู

คณิตศาสตร เรื่องรูปทรงปริมาตร ของทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก สําหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 5 ตามเกณฑ 70/70

ขั้นตอนที่ 2 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกอนเรียนและหลังเรียนบทเรียนสไลด

อิเล็กทรอนิกส กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร เรื่องรูปทรงปริมาตร ของทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก

ขั้นตอนที่ 3 แบบสอบถามความคิดเห็น ของนักเรียนที่มีบทเรียนสไลดอิเล็กทรอนิกส

กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร เรื่องรูปทรงปริมาตร ของทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก สําหรับนักเรียน ชั้นประถมศึกษาปที่ 5

ขั้นตอนที่ 1 ประสิทธิภาพของ บทเรียนสไลดอิเล็กทรอนิกส กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร

เรื่อง รูปทรงปริมาตร ของทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก สําหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 5 ตามเกณฑ 70/70

ผูวิจัยไดดําเนินการทดลองกับนักเรียนชั้นประถมศึกษา 3 โรงเรียนไทยรัฐวิทยา 55 (วัดโบสถดอนพรหม) สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษานนทบุรี เขต 1 ที่ยังไมเคยเรียนสาระ คณิตศาสตร เรื่อง รูปทรงปริมาตร ของทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก สําหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 5 จํานวน 30 นําผลการทดสอบผูเรียนจากแบบฝกหัดระหวางเรียนและแบบทดสอบหลังเรียน ที่ได

จากการทดลองมาวิเคราะหหาประสิทธิภาพของบทเรียนตามเกณฑ 70 / 70 โดยใชสูตร E1/E2 ผล การประเมินดังตารางที่ 9

71

เรื่อง รูปทรงปริมาตร ของทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก สําหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 5

คะแนนระหวางเรียน นักเรียน

คนที่ ตอนที่ 1 (10) ตอนที่ 2 (10) ตอนที่ 3 (10)

คะแนนรวม (30)

คาเฉลี่ย (X)

คะแนนสอบ หลังเรียน (30)

คาเฉลี่ย (X)

1 9 9 10 28 93.33 28 93.33 2 6 6 9 21 70 27 90 3 9 7 7 23 76.67 22 73.33 4 8 6 6 20 66.67 21 70 5 9 7 9 25 83.33 30 100 6 9 8 9 26 86.67 22 73.33 7 9 7 9 25 83.33 24 80 8 9 6 8 23 76.67 23 76.67

9 8 10 9 27 90 21 70

10 8 10 7 25 83.33 23 76.67 11 8 6 9 23 76.67 25 83.33 12 8 7 9 24 80 19 63.33 13 9 6 9 24 80 20 66.67 14 8 7 9 24 80 26 86.67 15 6 8 9 23 76.67 18 60 16 7 8 9 24 80 24 80 17 8 10 8 26 86.67 21 70 18 7 6 6 19 63.33 26 86.67 19 7 9 6 22 73.33 25 83.33 20 8 9 6 23 76.67 22 73.33 21 7 5 8 20 66.67 27 90 22 7 6 9 22 73.33 21 70 23 7 6 7 20 66.67 25 83.33 24 8 9 9 26 86.67 23 76.67 25 10 6 9 25 83.33 23 76.67 26 9 9 6 24 80 28 93.33 27 8 9 7 24 80 24 80 28 7 8 8 23 76.67 29 96.67

X X

ตารางที่ 9 (ตอ)

คะแนนระหวางเรียน นักเรียน

คนที่ ตอนที่ 1 (10) ตอนที่ 2 (10) ตอนที่ 3 (10)

คะแนนรวม (30)

คาเฉลี่ย (X)

คะแนนสอบ หลังเรียน (30)

คาเฉลี่ย (X)

29 8 5 10 23 76.67 26 86.67

30 8 9 8 25 83.33 26 86.67

เฉลี่ยรอยละ 78.56 79.89

คาประสิทธิภาพ E1/E2 = 78.56/79.89

จากตารางที่ 9 ผลการวิเคราะหขอมูลปรากฏวา บทเรียนบทเรียนสไลดอิเล็กทรอนิกส

กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร เรื่องรูปทรงปริมาตร ของทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก สําหรับนักเรียน ชั้นประถมศึกษาปที่ 5 ที่ผานการทดลองหาประสิทธิภาพรอยละของคะแนนเฉลี่ยการทดสอบ ระหวางเรียน (E1) มีคาเทากับ 78.56 และรอยละของคาคะแนนเฉลี่ยของคะแนนการทดสอบหลัง เรียน (E2) มีคาเทากับ 79.89 แสดงวาบทเรียนวา บทเรียนบทเรียนสไลดอิเล็กทรอนิกสกลุมสาระ

การเรียนรูคณิตศาสตร เรื่องรูปทรงปริมาตร ของทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก สําหรับนักเรียน ชั้นประถมศึกษาปที่ 5 ที่ผูวิจัยสรางขึ้นมีประสิทธิภาพ 78.56/79.89 เมื่อเทียบกับเกณฑ 70 / 70

ปรากฏวาบทเรียนสไลดอิเล็กทรอนิกส ที่สรางขึ้นมีประสิทธิภาพสูงกวาเกณฑที่กําหนด

ขั้นตอนที่ 2 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกอนเรียนและหลังเรียนบทเรียนสไลดอิเล็กทรอนิกส กลุม สาระการเรียนรูคณิตศาสตร เรื่องรูปทรงปริมาตร ของทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก สําหรับ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 5 ที่ไดจากกลุมตัวอยาง จํานวน 30 คน

ผลการทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรูของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 5 กอนเรียน และหลังเรียนดวยบทเรียนสไลดอิเล็กทรอนิกส กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร เรื่องรูปทรง ปริมาตร จํานวน 30 คน มีรายละเอียดดังนี้

ตารางที่ 10 แสดงผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกอนเรียนและหลังเรียน

คนที่ คะแนนกอนเรียน (X1) คะแนนหลังเรียน (X2) คะแนนความกาวหนา (X2-X1) 1 7 19 12 2 20 27 7 3 8 18 10

คนที่ คะแนนกอนเรียน (X1) คะแนนหลังเรียน (X2) คะแนนความกาวหนา (X2-X1) 4 12 19 7 5 12 20 8 6 10 22 12 7 10 24 14 8 16 23 7 9 12 21 9 10 12 23 11 11 12 25 13 12 11 19 8 13 8 20 12 14 10 26 16 15 6 18 12 16 10 24 14 17 10 21 11 18 17 26 9 19 11 28 17 20 10 19 9 21 9 18 9 22 10 21 11 23 10 19 9 24 12 20 8 25 6 18 12 26 10 23 13 27 19 22 3 28 10 19 9 29 11 21 10 30 17 26 9

รวม 238 646 311

ตารางที่ 11 แสดงผลการวิเคราะหการเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนกอนและ หลังเรียนดวยสไลดอิเล็กทรอนิกส กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร เรื่องรูปทรง ปริมาตร

การทดสอบ N คะแนนเต็ม X S.D. t

กอนเรียน 30 30 11.26 3.38

หลังเรียน 30 30 21.63 2.93 19.379

t .05 = 1.697

สาระการเรียนรูคณิตศาสตร เรื่องรูปทรงปริมาตร จากนักเรียน 30 คน พบวาคะแนน ผลสัมฤทธิ์กอนเรียนมีคาเฉลี่ย 11.26 และสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 3.38 และคะแนนผลสัมฤทธิ์

หลังเรียนมีคาเฉลี่ย 21.63 และสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 2.93 และเมื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์

กอนและหลังเรียนโดยใชสถิติ t-test พบวาผลสัมฤทธิ์หลังเรียนสูงกวากอนเรียนอยางมีนัยสําคัญที่

ระดับ 0.05 (t = 19.37 , df = 29)

ขั้นตอนที่ 3 ความคิดเห็นบทเรียนสไลดอิเล็กทรอนิกส กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร เรื่อง รูปทรงปริมาตร ของทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก สําหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 5 ความ คิดเห็นของนักเรียนที่มีตอบทเรียนสไลดอิเล็กทรอนิกส กลุมสาระการเรียนรู

คณิตศาสตร เรื่องรูปทรงปริมาตร จํานวน 30 คน มีรายละเอียดดังนี้

ตารางที่ 12 ผลการวิเคราะหความคิดเห็นของนักเรียนที่มีตอบทเรียนสไลดอิเล็กทรอนิกส

ระดับความคิดเห็น รายการประเมิน

X S.D. แปลผล ลําดับที่

ดานการออกแบบบทเรียน

1. นักเรียนมีโอกาสเลือกบทเรียนตามความตองการ 4.13 0.77 ดี 4 2. รูปภาพสวยงามและเหมาะสมกับเนื้อหา 4.1 0.71 ดี 5

3. ตัวอักษรอานงายชัดเจน 4.03 0.80 ดี 7

4. สีสันตัวอักษรสวยงามสบายตา 3.90 0.92 ดี 10

5. สีของพื้นหลังและภาพเหมาะสม 3.87 1.19 ดี 11

ระดับความคิดเห็น รายการประเมิน

X S.D. แปลผล ลําดับที่

ความคิดเห็นดานเนื้อหา

6. คําอธิบายเนื้อหาชัดเจน 4.17 0.79 ดี 3

7. เนื้อหาสามารถนําไปใชในชีวิตประจําวันได 4.07 0.82 ดี 6 8. การจัดลําดับเนื้อหาในแตละบทเรียนเหมาะสม 4.07 0.98 ดี 6 ความคิดเห็นดานความพึงพอใจในการเรียน

10. นักเรียนมีความกลาที่จะหาคําตอบดวยตนเอง 4.00 0.94 ดี 8 11. คอมพิวเตอรนําเสนอบทเรียนไดนาสนใจ 4.30 0.95 ดี 1 12. นักเรียนไมรูสึกเสียหนาเมื่อตอบคําถามผิด 3.77 0.93 ดี 12

13. นักเรียนรูสึกสนุกกับบทเรียน 4.20 0.96 ดี 2

14. นักเรียนเรียนไดนานโดยไมรูสึกเบื่อหนาย 4.03 0.89 ดี 7

รวม 4.04 0.91 ดี

จากตารางที่ 12 พบวา ความคิดเห็นของนักเรียนที่มีตอบทเรียนสไลดอิเล็กทรอนิกส

กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร เรื่องรูปทรงปริมาตร โดยเฉลี่ยความคิดเห็นอยูในระดับดี

(X = 4.04 , SD=0.91)

1. ขอที่นักเรียนมีความคิดเห็นตอบทเรียนสไลดอิเล็กทรอนิกส กลุมสาระการเรียนรู

คณิตศาสตร เรื่องรูปทรงปริมาตร อยูในระดับ ดี คอมพิวเตอรนําเสนอบทเรียนไดนาสนใจ (X=4.30 , SD=0.95 ) คือ นักเรียนรูสึกสนุกกับบทเรียน (X=4.20 ,SD=0.96) คําอธิบายเนื้อหา ชัดเจน (X=4.17 , SD=0.79) นักเรียนมีโอกาสเลือกบทเรียนตามความตองการ(X=4.13 , SD = 0.77) รูปภาพสวยงามและเหมาะสมกับเนื้อหา (X= 4.10 , SD = 0.71) . เนื้อหาสามารถนําไปใช

ในชีวิตประจําวันได (X= 4.07 , SD = 0. 82) . เนื้อหาสามารถนําไปใชในชีวิตประจําวันได

(X=4.07 , SD=0.98) ตัวอักษรอานงายชัดเจน(X= 4.03 , SD = 0.80 ) . นักเรียนเรียนไดนาน โดยไมรูสึกเบื่อหนาย(X= 4.03 , SD = 0.89 ) นักเรียนมีความกลาที่จะหาคําตอบดวยตนเอง (X= 4.00 , SD = 0.94 ) แบบฝกหัดในแตละบทเรียนมีจํานวนขอเหมาะสม (X=3.93 , SD= 1.08) สีสันตัวอักษรสวยงามสบายตา (X=3.90 , SD=0.92 ) . สีของพื้นหลังและภาพเหมาะสม (X=3.87 , SD= 1.19 ) นักเรียนไมรูสึกเสียหนาเมื่อตอบคําถามผิด (X= 3.77 , SD=0.93 )

ผลจากการวิเคราะหขอมูลจากแบบสอบถามความคิดเห็นแบบปลายเปด เปนการ แสดงความคิดเห็นเพิ่มเติมที่มีตอบทเรียนสไลดอิเล็กทรอนิกสกลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร

เรื่องรูปทรงปริมาตร นักเรียนมีความตองการที่จะเรียนจากสื่อสไลดอิเล็กทรอนิกสในเรื่องอื่น ๆ ทั้ง ในสาระการเรียนรูคณิตศาสตรและทุกกลุมสาระการเรียนรู เรียนแลวไมนาเบื่อ มีความสนุกสนาน และเพลิดเพลินกับบทเรียน ไดดูรูปภาพสวย ๆ และมีการเคลื่อนไหว ไดฟงเสียงบรรยาย ถาไม

เขาใจ สามารถกลับไปทบทวนบทเรียนไดดวยตนเอง สรุปไดวานักเรียนมีความพึงพอใจในระดับดี

บทที่ 5

สรุปผล อภิปรายผล และขอเสนอแนะ

การวิจัยเรื่องการพัฒนาสไลดอิเล็กทรอนิกส กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร เรื่อง รูปทรงและปริมาตรของทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก สําหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 5 มีวัตถุประสงค

การวิจัย ดังนี้

1. เพื่อพัฒนาและหาประสิทธิภาพสื่อสไลดอิเล็กทรอนิกส กลุมสาระการเรียนรู

คณิตศาสตรเรื่องรูปทรงและปริมาตรของทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก สําหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 5 ใหมีประสิทธิภาพตามเกณฑมาตรฐาน 70/70

2. เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร เรื่อง รูปทรงและปริมาตรของทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก กอนเรียน (Pretest) และหลังเรียน (Posttest)

3. เพื่อศึกษาความคิดเห็นของผูเรียนที่มีตอสื่อสไลดอิเล็กทรอนิกส กลุมสาระการเรียนรู

คณิตศาสตร เรื่องรูปทรงและปริมาตรของทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก

ตัวแปรที่ศึกษา

1. ตัวแปรอิสระ ทางการเรียนกลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร เรื่องรูปทรงและปริมาตร ของทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก

2 ตัวแปรตาม ไดแก

2.1 ผลสัมฤทธิ์การเรียนที่เรียนทางการเรียนกลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร เรื่อง รูปทรงและปริมาตรของทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก

2.2 ความคิดเห็นของนักเรียนที่มีตอทางการเรียนกลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร

เรื่องรูปทรงและปริมาตรของทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก

ระยะเวลาที่ใชในการศึกษาคนควา

การวิจัยครั้งนี้ดําเนินการทดลองในภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา 2549 ระยะเวลา 3 คาบ ๆ ละ 60 นาที โดยใหผูเรียนทําแบบทดสอบกอนเรียน แลวใหผูเรียนจากบทเรียนสไลดอิเล็กทรอนิกสทํา แบบฝกหัดระหวางเรียน ทําแบบฝกหัดหลังเรียนและทําแบบวัดความพึงพอใจที่มีตอบทเรียนสไลด

อิเล็กทรอนิกส หลังจากเรียนดวยบทเรียนสไลดอิเล็กทรอนิกส

78