• Tidak ada hasil yang ditemukan

ที่แสดงคุณคาของบทเรียนสไลดอีเล็กทรอนิกสที่ผลิตดวยโปรแกรม power point สามารถ

เปรียบเทียบคุณคาและประโยชนไดใกลเคียงกันทุกประการ และบทเรียนสไลดอีเล็กทรอนิกส

ที่ผลิตดวยโปรแกรม power point มีขอไดเปรียบที่เห็นไดชัดเจนหลายประการ โดยเฉพาะดาน การผลิต และการนําไปใช

5. งานวิจัยที่เกี่ยวของ

งานวิจัยในประเทศ

ปวีณา ธิติวรนันท (2537) ศึกษาเรื่องสีและขนาดของตัวอักษรบนสีพื้นที่มีตอความ เขาใจในการอานบนจอคอมพิวเตอรของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 6 จํานวน 60 คน โดยจะ ผานการตรวจสอบสายตาปกติและการทดสอบตาบอดสี และแบงออกเปน 2 กลุม ๆ ละ 30 คน

เรียนเนื้อหาดวยตัวอักษรขนาดตางกันบนจอคอมพิวเตอร คือตัวอักษรขนาดเล็กรวม 10 คูสี

ผลการศึกษาพบวาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนดานความเขาใจในการอานตัวอักษรขนาดเล็กและ ตัวอักษรขนาดใหญในแตละคูสีไมมีความแตกตางกัน

สมร พึ่งฉิ่ง (2538) ไดศึกษาความชอบของนักเรียนที่มีตออักษรสีดําและสีขาวบนพื้น รองรับสีตาง ๆ กัน และศึกษาความแตกตางของความชอบของนักเรียนที่มีตอคูอักษรและพื้นสี

ระหวางนักเรียนที่มีความสามารถทางการเรียนสูงและความสามารถทางการเรียนต่ํา ของนักเรียน ชั้นประถมศึกษาปที่ 6 จํานวน 200 คน ผลการศึกษาพบวาความชอบของนักเรียนที่มีตอคูอักษร และสีพื้น นักเรียนชอบอักษรสีขาวบนพื้นสีมากกวาอักษรสีดําบนพื้นสี สําหรับความชอบคูอักษร และพื้นสีระหวางนักเรียนที่มีความสามารถทางการเรียนสูงและความสามารถทางการเรียนต่ําไม

แตกตางกัน

ชาญ คําภิระแปง (2529: 56) ไดทําการวิจัยเรื่อง ประสิทธิภาพของบทเรียนสไลด

ประกอบเสียงเรื่อง “ปาไม” โดยใชกลุมตัวอยางเปนนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 5 โรงเรียนประจํา ตําบลริมปงและโรงเรียนบานศรีสุพรรณ จํานวน 60 คน แบงออกเปน 2 กลุม โดยใหนักเรียน โรงเรียนประจําตําบลริมปงเปนกลุมทดลอง ซึ่งใชบทเรียนสไลดประกอบเสียง และโรงเรียนบาน ศรีสุพรรณเปนกลุมควบคุม ใหครูผูสอนประจํากลุมสอนตามแผนการสอนของกรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธิการ จากผลการวิจัยปรากฏวา ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและความคิดเห็นเกี่ยวกับ ความสําคัญของปาไมตอสภาพแวดลอมของทั้งสองกลุมแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่

ระดับ 0.05

ชัยพร ขุนรามวงษ (2533 : บทคัดยอ) ไดทําการศึกษาเปรียบเทียบผลการเรียนรูความคิด รวบยอด โดยใชสไลดเทปแบบมีการสรุปเปนตอน ๆ ดวยภาพผสมที่มีตัวชี้นําและไมมีตัวชี้นําใน วิชากลุมสรางเสริมประสบการณชีวิต เรื่อง พืช ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 โรงเรียนสวัสดี

วิทยา กรุงเทพมหานคร จํานวน 60 คน โดยแบงออกเปน 2 กลุมทดลอง ปรากฏวากลุมนักเรียน ที่เรียนโดยใชสไลดเทปแบบมีการสรุปเปนตอน ๆ ดวยภาพผสมที่มีตัวชี้นํามีผลการเรียนรู ความคิด

รวบยอดสูงกวากลุมนักเรียนที่เรียนโดยใชสไลดเทปแบบมีการสรุปเปนตอน ๆ ดวยภาพผสมที่ไมมี

ตัวชี้นําอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05

เทียน ปลื้มกมล (2533 : 68) ไดทําการวิจัยเปรียบเทียบเจตคติ, ความคิดสรางสรรค

ทางวิทยาศาสตรและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 6 ในโรงเรียนวัดบานปราสาท โดยใชสไลด-เทป และการเรียนแบบปกติจํานวน 66 คน แลวแบงกลุม ทดลอง 38 คน และกลุมควบคุม 33 คน ผลวิจัยปรากฏวา ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร

ของกลุมทดลองและกลุมควบคุมไมแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05

เสริมสกุล โทณะวณิก (2534 : 52-55) ไดทําการวิจัยศึกษาเปรียบเทียบผลของภาพวาด อซิทิฟและเนกาทิฟของสไลดที่สรางดวยคอมพิวเตอรที่มีตอผลการเรียน วิชาวิทยาศาสตร ของ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 พบวา มีคะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู แตกตางกันอยางมีนัยสําคัญ ทางสถิติที่ระดับ 0.05 นักเรียนที่เรียนจากภาพวาดอซิทิฟของสไลดที่สรางดวยคอมพิวเตอรจะมี

ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงกวานักเรียนที่เรียนจําภาพวาดเนกาทิฟของสไลดที่สรางดวย คอมพิวเตอร

สาธิต ภูริรักษ (2542 : 56) ไดศึกษาผลการใชสไลดอิเล็กทรอนิกสที่ผลิตดวยโปรแกรม power point กับนักเรียนโรงเรียนนายทหารชั้นผูบังคับฝูงเรื่องกิจกรรมในสนามฝกเพื่อความเปน ผูนํา เกมฟลิกเกอรบอล ผลการศึกษาพบวา หลังการศึกษากิจกรรมในสนามฝกเพื่อความเปนผูนํา เกมฟลิกเกอรบอล จากสไลดอิเล็กทรอนิกสที่ผลิตดวยโปรแกรม power point นายทหารนักเรียน โรงเรียนนายทหารชั้นผูบังคับฝูงรุนที่ 92 มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงกวากอนการศึกษาอยางมี

นัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 และนายทหารนักเรียนมีความคิดเห็นในระดับดี ตอสไลด

อิเล็กทรอนิกสที่ผลิตดวยโปรแกรม power point

วาณี หนูเพชร (2545)ไดทําการศึกษาผลการใชสไลดอิเล็กทรอนิกสที่ผลิตดวย โปรแกรม Power point เรื่อง ภาวะโภชนาการเกิน แบบเปลี่ยนสีขอความ และแบบซอนขอความ เมื่อมีขอความปรากฏ ผลการวิจัยปรากฏวา การใชสไลดอิเล็กทรอนิกสที่ผลิตดวยโปรแกรม power point เรื่องภาวะโภชนาการเกิน แบบเปลี่ยนสีขอความและแบบซอนขอความ เมื่อขอความถัดไป ปรากฏมีคุณภาพอยูในเกณฑที่ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนทั้งสองกลุมไมแตกตางกัน

Walter (1981) ศึกษาการพัฒนาและประเมินบทเรียนสไลดเทปประกอบเสียงในการ ปรับปรุงวิธีการสอนแนวความคิดเกี่ยววิทยาศาสตร ปรากฏวา การวัดความเขาใจดวยการปรับปรุง วิธีการสอนโดยการใชบทเรียนสไลดเทปใหผลการเรียนรูมากขึ้นที่รับนัยสําคัญทางสถิติที่ 0.05

Wiget (1980) ไดศึกษาการพัฒนาสไลดประกอบเสียงสําหรับรูปแบบจําลอง การใหบริการแกเด็กพิการ ผลการทดลองสรุปวา ครูที่นําเสนอดวยการดูสไลดประกอบเสียง

สามารถเพิ่มความรูและความเขาใจ มากกวาครูที่ไมไดใหดู ที่ระดับนัยสําคัญทางสถิติที่ 0.05 Krismant (1991) ศึกษาเกี่ยวกับความชอบของสีบนจอคอมพิวเตอร กับผูเรียนที่มีภูมิ

หลังตางกัน แบงเปนนักศึกษาไทย 100 คน และนักศึกษาอเมริกัน 100 คน โดยนักศึกษาทั้งหมด เรียนวิชาคอมพิวเตอรอยูในมหาวิทยาลัยตาง ๆ ของสหรัฐอเมริกา จากการศึกษาพบวา การใชสีบน จอคอมพิวเตอรตางจากการใชสีบนวัสดุสิ่งพิมพ และภาพที่เกิดจากการฉายในดานความชอบและ ความชัดเจนในการมองเห็น ทางดานความชอบของคูสีพบวาคูสีที่ไดรับความชอบมากที่สุด 10 อันดับ จาก 36 อันดับคูสีจากการทดลอง คือ

อันดับที่ 1 ตัวอักษรสีขาวบนพื้นสีน้ําเงิน อันดับที่ 2 ตัวอักษรสีขาวบนพื้นสีดํา อันดับที่ 3 ตัวอักษรสีเหลืองบนพื้นสีดดํา อันดับที่ 4 ตัวอักษรสีเขียวบนพื้นสีดํา อันดับที่ 5 ตัวอักษรสีดําบนพื้นสีเหลือง อันดับที่ 6 ตัวอักษรสีขาวบนพื้นสีเขียว อันดับที่ 7 ตัวอักษรสีเหลืองบนพื้นสีน้ําเงิน อันดับที่ 8 ตัวอักษรสีน้ําเงินบนพื้นสีดํา อันดับที่ 9 ตัวอักษรสีขาวบนพื้นสีมวง อันดับที่ 10 ตัวอักษรสีเหลืองบนพื้นสีเขียว

Villachina (1999) ไดทําการศึกษากับนักเรียนทางดานเทคโนโลยีการศึกษาจํานวน 236 คน เกี่ยวกับความสนใจในโปรแกรม power point พบวานักเรียนมีความสนใจและยอมรับเกี่ยวกับ การนําโปรแกรม power point มาใชในการเรียนการสอน

Hutchins (2000) ไดทําการศึกษาและสํารวจความคิดเห็นเกี่ยวกับการใชโปรแกรม นําเสนอตาง ๆ ในการเรียนการสอนและการอบรม จากกลุมตัวอยางจํานวน 96 คน พบวา จํานวน 75%

นิยมการใชโปรแกรม power point

จากการศึกษางานวิจัยทั้งในประเทศและตางประเทศดังกลาวขางตนสรุปไดวา การใช

สไลดอิเล็กทรอนิกสที่ผลิตดวยโปรแกรม power point เปนสื่อในการจัดการเรียนการสอนทําใหมี

ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงขึ้น และผูเรียนมีความคิดเห็นที่ดีตอการนําสไลดอิเล็กทรอนิกสมาเปน สื่อประกอบการเรียนการสอน นอกจานี้ผลงานวิจัยบางสวนยังศึกษาและใหความสําคัญเกี่ยวกับ การนําเสนอขอความ สี รูปภาพ ซึ่งมีผลตอความชอบและความชัดเจนในการมองเห็นของผูเรียน ในการสรางสื่อสําหรับผูเรียนจึงควรคํานึงถึงสิ่งเหลานี้ดวย ควรเลือกสรางสื่อที่จะนําเสนอใหมี

ความเหมะสมทั้งขอความ รูปภาพ และสี ใหสอดคลองกับเนื้อหาวิชา ความตองการและความสนใจ ของผูเรียน ซึ่งจะมีผลตอผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผูเรียน

บทที่ 3 วิธีดําเนินการวิจัย

การวิจัยครั้งนี้เปนการวิจัยและพัฒนา (Research and Development) เพื่อศึกษาประสิทธิภาพ ของบทเรียนสไลดอิเล็กโทรนิกสที่ผูวิจัยสรางขึ้นและเพื่อพัฒนาสไลดอิเล็กทรอนิกส กลุมสาระ

การเรียนรูคณิตศาสตร เรื่องรูปทรงและปริมาตรของทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก สําหรับนักเรียน ชั้นประถมศึกษาปที่ 5 โดยมีขั้นตอนในการดําเนินการวิจัยดังนี้

ประชากรและกลุมตัวอยางที่ใชในการวิจัย

ประชากรในการวิจัยครั้งนี้คือ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 5 ที่เรียนสาระการเรียนรู

คณิตศาสตร ภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา 2549 สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษานนทบุรี เขต 1 จํานวน 3,207 คน

กลุมตัวอยางที่ใชทดลองในการวิจัยครั้งนี้ คือ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 5 โรงเรียน ไทยรัฐวิทยา 55 (วัดโบสถดอนพรหม) ซึ่งเรียนสาระการเรียนรูคณิตศาสตร เรื่องรูปทรงและปริมาตร ของทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก ภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา 2549 จํานวน 30 คน ซึ่งไดมาดวยการสุมอยาง งาย (Cluster Sampling) โดยวิธีการเลือกมาหนึ่งหองเรียน

แบบแผนการทดลอง

การวิจัยในครั้งนี้ ผูวิจัยใชแบบแผนการทดลองแบบ One – Group Pretest – Posttest Design ดังนี้

T1 X T2

เมื่อ T1 คือ การทดสอบกอนเรียนดวยสไลดอิเล็กทรอนิกสกลุมสาระการเรียนรู

คณิตศาสตร เรื่องรูปทรงและปริมาตรของทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก

X คือ การสอนโดยใชสื่อสไลดอิเล็กทรอนิกสกลุมสาระการเรียนรู

คณิตศาสตร เรื่องรูปทรงและปริมาตรของทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก

T2 คือ การทดสอบหลังเรียนดวยสไลดอิเล็กทรอนิกสกลุมสาระการเรียนรู

คณิตศาสตร เรื่องรูปทรงและปริมาตรของทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก 46