• Tidak ada hasil yang ditemukan

ศึกษาหลักการสรางแบบสอบถามจากตําราและเอกสารที่เกี่ยวของกับการวัดผล ประเมินผล กําหนดรูปแบบของแบบสอบถามเปน 2 สวน คือแบบปลายปด ที่มีลักษณะการตอบ แบบมาตรสวนประเมินคา (Rating Scale) 5 ระดับ ของเบสท (Best 1981: 182) และแบบสอบถาม แบบปลายเปด เพื่อสอบถามความคิดเห็นอื่น ๆ นําแบบสอบถามความคิดเห็นไปทดสอบกับนักเรียน กลุมตัวอยางหลังจากที่เรียนดวยสไลดอิเล็กโทรนิกสแลว

ตารางที่ 8 แสดงเกณฑเฉลี่ยของระดับความความคิดเห็น

การใหคะแนน คะแนนเฉลี่ย คุณภาพ

5 4.50 – 5.00 ดีมาก 4 3.50 – 4.49 ดี

3 2.50 – 3.49 ปานกลาง 2 1.50 – 2.49 พอใช

1 1.00 – 1.49 ควรปรับปรุง 4.1 ศึกษาการสรางแบบสอบถามจากตําราเอกสารที่เกี่ยวของกับการสรางแบบวัด ความคิดเห็น

4.2 กําหนดโครงสรางของแบบวัดความคิดเห็น ประกอบดวย ดานเนื้อหา ดาน กิจกรรมการเรียนรู ดานรูปแบบของสื่อ ความรูสึกและประโยชนที่ไดรับจากสื่อ

4.3 สรางแบบวัดความพึงพอใจของนักเรียนที่มีตอสไลดอิเล็กทรอนิกส

4.4 นําแบบวัดความคิดเห็นที่สรางขึ้นไปปรึกษาอาจารยที่ปรึกษาและผูเชี่ยวชาญ เพื่อปรับปรุงแกไขใหเหมาะสม (รายละเอียดดูภาคผนวก ง หนา 108)

4.5 นําแบบสอบถามไปทดลองกับตัวแทนของกลุมตัวอยาง 15 คน เพื่อตรวจสอบ ความเหมาะสมของภาษา

แผนภาพที่ 4 ขั้นตอนการสรางแบบสอบถามความคิดเห็น

วิธีดําเนินการวิจัย

1. อธิบายวิธีการเรียนดวยบทเรียนสไลดอิเล็กทรอนิกส

2. กลุมตัวอยางทําแบบทดสอบกอนเรียน (Pretest) เพื่อวัดพื้นฐานความรูในกลุมสาระ การเรียนรูคณิตศาสตร เรื่องรูปทรงและปริมาตรของทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก

3. ทําการทดลองกับกลุมตัวอยาง นําบทเรียนดวยบทเรียนสไลดอิเล็กทรอนิกส ซึ่ง ไดรับการปรับปรุงแกไขแลวไปใชกับนักเรียนกลุมตัวอยาง จํานวน 30 คน โดยการสุมอยางงาย เลือกมา 1 หองเรียน ผูวิจัยอธิบายจุดมุงหมาย วิธีการ จากนั้นเริ่มทดลอง โดยใชเวลาเรียน 3 วัน ๆ ละ 60 นาที และทําแบบทดสอบระหวางเรียน

4. นําแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนที่เรียนจากบทเรียนสไลด

อิเล็กทรอนิกสทดสอบนักเรียนกลุมตัวอยาง (Post - test) เมื่อเรียนเสร็จแลว ศึกษาการสรางแบบสอบถามจากตําราและเอกสารที่เกี่ยวของ

กําหนดโครงสรางของแบบวัดความคิดเห็น

สรางแบบวัดความคิดเห็นของนักเรียนที่มีตอบทเรียนสไลดอิเล็กทรอนิกส

นําแบบวัดความคิดเห็นใหอาจารยที่ปรึกษาตรวจสอบเพื่อปรับปรุงแกไข นําแบบสอบถามไปปรับปรุงแกไขคิดเห็นคิดเห็น

ไดแบบสอบถามที่เหมาะสมไปใช

5. นําแบบสอบถามความคิดเห็น สอบถามนักเรียนกลุมตัวอยาง เพื่อวัดความคิดเห็นที่มี

ตอบทเรียนสไลดอิเล็กทรอนิกส

6. นําขอมูลที่ไดไปวิเคราะหทางสถิติ ทั้งกอนเรียน ระหวางเรียน และหลังเรียน สถิติที่ใชในการหาคุณภาพของเครื่องมือและวิเคราะหขอมูล

สถิติที่ใชในการหาคุณภาพเครื่องมือ

1. การวิเคราะหคาดัชนีความสอดคลอง (Index of Consistency : IOC) ของขอสอบกับ ผลการเรียนรูที่คาดหวัง โดยใชสูตร (กรมวิชาการ, สํานักทดสอบทางการศึกษา 2544 : 39)

IOC =

N

xi

ICO คือ คาดัชนีความสอดคลองของขอสอบกับผลการเรียนรูที่คาดหวัง

xi คือ ผลรวมของคาความเห็นของผูเชี่ยวชาญ

N คือ จํานวนของผูเชี่ยวชาญที่วิเคราะหความสอดคลองของขอสอบ 2. การวิเคราะหคาความเชื่อมั่นของแบบทดสอบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่องรูปทรง และปริมาตรของทรงสี่เหลี่ยม โดยใชสูตร KR – 20 ของคูเดอร ริชารดสัน (Kuder – Richardsoon)

KR-20 หรือ =

เมื่อ คือ คาสัมประสิทธิ์ความเชื่อมั่น k คือ จํานวนขอสอบ

p คือ สัดสวนของคนทําถูกในแตละขอ q คือ สัดสวนของคนทําผิดในแตละขอ

คือ ความแปรปรวนของคะแนน คือ ผลรวม

3. การวิเคราะหคาความยากงาย (P) รายขอของแบบทดสอบ โดยใชสูตร (ลวน สายยศ และอังคณา สายยศ 2536 : 179)

rtt

⎪⎭

⎪⎩

1 2

1 St

pq k

k

r

tt

2

St

P คือ คาความยากงาย

R คือ จํานวนคนที่ทําขอนั้นถูก N คือ จํานวนคนที่ทําขอนั้นทั้งหมด

4. การวิเคราะหคาอํานาจจําแนก (r) ของแบบทดสอบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน โดยใชสูตร (ลวน สายยศ และอังคณา สายยศ 2536 : 179)

r =

2 N

R