• Tidak ada hasil yang ditemukan

หัวขอการสัมภาษณ ผูเชี่ยวชาญทานที่ 1 ผูเชี่ยวชาญทานที่ 2 ผูเชี่ยวชาญทานที่ 3 4. ทานคิดวาควรจัดทํา

แผนการจัดการเรียนรู

สาระคณิตศาสตร ชั้น ประถมศึกษาปที่ 5 เรื่องรูปทรงและ ปริมาตรของทรง สี่เหลี่ยมมุมฉาก อยางไรใหเหมาะสม กับเนื้อหาที่ใชสอน

- จัดเวลาใหเหมาะสม กับเนื้อหากิจกรรม

- ใหนักเรียนไดมีสวน รวมกิจกรรมอยาง ทั่วถึง

- แบงเนื้อหาให

เหมาะสมกับเวลา

- ควรนําไปบูรณาการ กับเนื้อหาในเรื่องอื่น หรือวิชาอื่น - จัดเนื้อหาให

สอดคลองกับการ นําไปใชใน ชีวิตประจําวัน

ตารางที่ 1 (ตอ)

หัวขอการสัมภาษณ ผูเชี่ยวชาญทานที่ 1 ผูเชี่ยวชาญทานที่ 2 ผูเชี่ยวชาญทานที่ 3

7. ขอเสนอแนะอื่น ๆ - ควรออกแบบให

นาสนใจ

- ควรเนนความ สนใจของนักเรียน

- ควรนําเสนอ กิจกรรมที่เด็กสนใจ ตารางที่ 2 แสดงผลสรุปการวิเคราะหขอมูลจากผูเชี่ยวชาญดานสไลดอีเล็กทรอนิกส

ประเด็น ความคิดเห็นของผูเชี่ยวชาญ

1. การสรางบทเรียนสไลดอีเล็กทรอนิกส สาระ คณิตศาสตร เรื่องรูปทรงและปริมาตรของทรง สี่เหลี่ยมมุมฉาก ควรมีลักษณะรูปแบบบทเรียน อยางไร

- มีลําดับขั้นตอนชัดเจน จากงายไปหายาก การ นําเสนอนาสนใจ ดึงดูดความสนใจของผูเรียน - บทเรียนควรมีลําดับขั้นตอนชัดเจน การออกแบบ โครงสรางของบทเรียนควรจะมีความสัมพันธ

ตอเนื่องกัน การใชภาษาและภาพ มีความสําคัญ ในการสื่อความหมาย ตองชัดเจนถูกตอง สื่อ ความหมายใหผูเรียนทุกคนเขาใจตรงกัน - ควรจะสรางในลักษณะใหนักเรียนตอบโตได

เปนสื่อ 2 ทาง สามารถเรียนรูดวยตนเองได เปน สื่อที่ทุกคนเขาถึงไดงายไมยุงยากซับซอน 2. ควรใชสีอยางไรในการสรางบทเรียนสไลด

อีเล็กทรอนิกส ในสาระคณิตศาสตร เรื่อง รูปทรงและปริมาตรของทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก จึง เหมาะสมและทําใหผูเรียนไมเบื่อ

- สีสันสดใส เหมาะกับวัยของผูเรียน แตตองไม

ฉูดฉาดมากเกินไป ควรใชสีที่ดูงายสบายตา - สีที่ใชในบทเรียนควรเลือกโทนสีนุมนวล แต

ในขณะเดียวกันจะตองสื่อความหมายไดชัดเจน และมีสวนชวยใหบทเรียนนาสนใจมากขึ้นดวย - การใชสีสันของรูปทรง ควรใชสีที่ดึงดูดความ สนใจของนักเรียน เชน สีสด ๆ จะทําให

บทเรียนเปนที่นาสนใจไมเบื่อหนาย หลีกเลี่ยง การใชสีเดียวหรือ 2 สี เพราะจะทําใหสื่อหรือ เรื่องที่กําเรียนรูอยูในขณะนั้นไมเราใจ ควรใชสี

หลาย ๆ สีที่ตัดกันเห็นชัด

ประเด็น ความคิดเห็นของผูเชี่ยวชาญ 3. การสรางบทเรียนสไลดอีเล็กทรอนิกส ควรมี

การจัดเรียงภาพในลักษณะอยางไร จึงจะทําให

เกิดการเรียนรูไดงายและไมสับสนสําหรับ ผูเรียน ในเรื่องรูปทรงและปริมาตรของทรง สี่เหลี่ยมมุมฉาก

- จัดเรียงจากงายไปหายาก

- ภาพที่นํามาใชควรชัดเจน และจัดเรียงกันอยาง เปนละดับตอเนื่องตามความยากงายของเนื้อหา บทเรียน ภาพที่นํามาใชควรจะสามารถอธิบาย ความรูที่เปนนามธรรมใหผูเรียนเขาใจเปน รูปธรรมมากยิ่งขึ้นดวย

- ควรสรางจากงายไปหายาก จาก 2 มิติ ไป 3 มิติ

นักเรียนจะไดเขาใจในเรื่องรูปทรงและปริมาตร นักเรียนสามารถเปรียบเทียบรูปทรงตาง ๆ ได

และควรจะเนนในเรื่องของมุมตาง ๆ ให

นักเรียนไดเขาใจและเห็นไดอยางชัดเจน 4. ทานคิดวาการสอดแทรกเสียง(sound) ลงใน

การสรางบทเรียนสไลดอีเล็กทรอนิกส ถามีควร ใชมากนอยเพียงใด

- ควรใชเพื่อดึงดูดความสนใจของผูเรียน และทํา ใหผูเรียนเขาใจบทเรียนไดดียิ่งขึ้น

- การใชเสียงมีความจําเปนในบางกรณีหรือบาง บทเรียน ขึ้นอยูกับประเภทของเสียงและลักษณะ เนื้อหาของบทเรียน แตในการใชเสียงที่ไมไดมี

สวนทําใหนักเรียนเขาใจเนื้อหามากขึ้น ก็อาจทํา ใหบทเรียนลดคุณคาความสําคัญลงไป ฉะนั้น จึงเปนขอควรระวังอยางหนึ่งในการสอดแทรก เสียงในบทเรียน

- การใชเสียงควรมีบาง เพราะจะทําใหเด็กสนใจ มากขึ้น แตไมควรจะมีมากจนเกินไป ควรจะมี

ในชวงที่ตองการเนน หรือสวนสําคัญของ บทเรียน

ตารางที่ 2 (ตอ)

ประเด็น ความคิดเห็นของผูเชี่ยวชาญ

5 . ท า น คิ ด ว า ก า ร ส ร า ง บ ท เ รี ย น ส ไ ล ด

อีเล็กทรอนิกสนี้ ควรใหมีภาพเคลื่อนไหว ประกอบดวยหรือไม ถามีควรมีในลักษณะ อยางไรจึงจะเหมาะสมกับบทเรียนและทําให

ผูเรียนรูสึกราบรื่นในการเรียนรู

- ภาพนาสนใจและสามารถดึงดูดความสนใจ ของผูเรียนได นอกจากนี้อาจใชภาพเคลื่อนไหว ที่กระตุนใหผูเรียนไดเรียนรูอยางสนุกสนาน มากยิ่งขึ้น

- ควรจะมีภาพเคลื่อนไหวที่มีสวนทําใหการ อธิบายเนื้อหาชัดเจนยิ่งขึ้น แตไมควรมี

ภาพเคลื่อนไหวที่ไรความหมายมากเกินไป อาจทําใหผูเรียนสนใจภาพเคลื่อนไหวมากกวา บทเรียน

- ถามีภาพเคลื่อนไหวประกอบจะทําใหบทเรียน นั้นนาสนใจมากขึ้น แตภาพเคลื่อนไหวควรจะ เปนสวนเนนของเรื่องที่เราจะสอน ไมใชเปน การเคลื่อนไหวอยางอื่น เพราะจะทําใหเนื้อหาที่

จะเนนขาดความนาใจลง ควรจะเนนเฉพาะสวน เคลื่อนไหวที่ตองการ

6. ขอเสนอแนะอื่น ๆ - ควรมีการประเมินผูเรียนหลังเรียนจบบทนั้น ๆ

โดยอาจมีการประเมินเปนระยะ หรือประเมิน รวมกันก็ได เพื่อใหผูเรียนไดตรวจสอบความ เขาใจของตนเองดวย เชน เมื่อนําเสนอบทเรียน แตละตอนแลว อาจมีคําถามชวนคิด เพื่อ กระตุนใหผูเรียนนําความรูที่ไดจากการศึกษา บทเรียนไปประยุกตใชในชีวิตประจําวัน - ตองยึดผูเรียนเปนสําคัญ

ดานคอมพิวเตอร

หัวขอการสัมภาษณ ผูเชี่ยวชาญทานที่ 1 ผูเชี่ยวชาญทานที่ 2 ผูเชี่ยวชาญทานที่ 3 ผูเชี่ยวชาญดาน

คอมพิวเตอร

1. ทานคิดวาการสราง