• Tidak ada hasil yang ditemukan

95 เมื่อนางสุมุณฑาเห็นความจริงดังนั้น จึงได้เล่าความจริงทั้งหมดให้พระยากุดสะลาดผู้เป็นพี่ชายฟังทุก ประการ เมื่อพระยากุดสะลาดได้ทราบดังนั้นแล้วจึงสั่งให้จับโอรสทั้งหก และมเหสีทั้งหกพร้อมด้วย โหรหลวงและหมอเสน่ห์ยาแฝดมาขังไว้ จากนั้นพระยากุดสะลาดก็ชวนนางสุมุณฑาออกตามหาสินไซ และได้ไปพบสินไชกับมารดาอยู่ที่ปราสาทในป่าลึกแห่งหนึ่ง จึงขอให้สินไซเข้าเมืองมาเสวยราชเป็น เจ้าเมืองเป็งจาล หลังจากนั้นสินไซจึงส่งโอรสทั้งหกและแม่ของเขากลับไปยังเมืองจ าปานคร ส่วนพระ ยาวะลุนนะลาดพระสวามีของสีดาจัน มีความคิดถึงสีดาจันผู้เป็นมเหสีมาก จึงพาบริวารมาสู่ขอสีดา จันกลับไปเป็นมเหสีดังเดิม ฝ่ายสุมุณฑาและสินไซก็ยกสีดาจันให้ด้วยความยินดี

ภายหลังที่ยักษ์กุมพันตายพระยาเวสสุวันไม่เห็นยักษ์กุมพันขึ้นไปเฝ้าก็ได้ตามมาสืบข่าว และทราบว่ายักษ์กุมพันนั้นตายแล้วจึงได้ชุบชีวิตให้ยักษ์กุมพันนั้นฟื้นขึ้นมามีชีวิตใหม่อีกครั้ง และ บอกให้ยักษ์กุมพันเลิกคิดตามหานางสุมุณฑา แต่ยักษ์กุมพันไม่ยอมฟัง และได้ไปลักพาตัว นางสุมุณฑากลับมาอีกพร้อมทั้งยังจับเอาสินไซไปขังไว้ที่เมืองอโนราช สังข์ทอง สีโหพร้อมด้วยทหาร จึงได้ติดตามไปช่วยเหลือเอาดาบและธนูไปให้สินไซ แล้วทั้งสามก็ได้ต่อสู้กับยักษ์กุมพัน เมื่อพระอินทร์

เห็นเหตุการณ์ก็เสด็จลงมาห้ามทัพทั้งสองฝ่ายให้หยุดรบกัน และทั้งสองฝ่ายก็ยอมท าตามที่พระอินทร์

ขอร้อง พระอินทร์จึงได้สั่งสอนศีลธรรมให้ทั้งสินไซและยักษ์กุมพัน หลังจากนั้นยักษ์กุมพันก็ได้มาขอ นางสุมุณฑาตามจารีตประเพณีพร้อมด้วยของหมั้นมากมายแล้วรับนางสุมุณฑากลับเมืองอโนราช ก่อนกลับสินไซได้สอนศีลธรรมให้แก่ยักษ์กุมพัน และต่อมาสินไซก็ได้อภิเษกกับนางเกียงค าและนาง สีสุพัน และมเหสีทั้งสองก็ได้ให้ก าเนิดพระโอรสชื่อสังขะลาด และพระธิดาชื่อสุละสา ทั้งสองเมื่อโตขึ้น ก็ได้อภิเษกสมรสกัน และสังขะลาดได้ครองเมืองเป็งจาลสืบต่อจากสินไซหลังจากนั้นลูกของโอรสทั้ง หกของพระยากุดสะลาดก็น าก าลังทหารและกองทัพมาสู้รบ ท าสงครามกับลูกของสินไซ แต่สุดท้าย ท้าวสังขะลาดลูกของสินไซก็เป็นฝ่ายชนะสงคราม

96 ติดต่อค้าขายและเจริญสัมพันธไมตรี จึงท าให้เมืองเป็งจาลเป็นเมืองที่มีความเจริญรุ่งเรืองทั้งการค้า ขายและการติดต่อสัมพันธ์กับชาวต่างชาติ ทั้งศิลปะและวัฒนธรรมประเพณีต่างๆ อาคารบ้านเรือน การสร้างบ้านแปงเมืองที่มีความเจริญใหญ่โต ปราสาทราชวังที่มีความสวยงามยิ่งใหญ่ ประดับประดา ด้วยสิ่งของมีค่า ประสาทราชวังต่างๆ ตกแต่งด้วยทองค าและเพชรนิลจินดา มีก าแพงเมืองที่ใหญ่โต หนาแน่น กษัตริย์มีอ านาจในการปกครองบ้านเมืองและเมืองประเทศราชที่มีหัวเมืองต่างๆ ได้มาส่ง บรรณาการอยู่เสมอ ทั้งทองค า ของมีค่า ช้าง ม้า รวมทั้งข้าทาสบริวารมีการเก็บเอาภาษีอากรจากหัว เมืองที่ตกเป็นเมืองขึ้นและภาษีจากการค้าขายได้ปีละล้านชั่ง สินส่วยได้ปีละโกฏิ และมีประชากรมาก ถึงหลายล้าน อันเป็นการแสดงให้เห็นถึงความมั่งคั่งของมหานครที่เรืองอ านาจจากบารมีของกษัตริย์ที่

ส่งผลต่อทางด้านเศรษฐกิจของเมืองเป็งจาล ท าให้ทรัพย์สินในพระคลังมหาสมบัตินั้นเพิ่มขึ้นปีละนับ ไม่ถ้วน

ฮุ่งค่ าล้น ซาวเทบเทียวสะเพา อุดมโดย ดั่งดาวดึงฟ้า ลือเกียวเท้า ธานีในทีบ เมืองใหญ่กว้าง คนเค้าคั่งโฮม ... ...

ลาดใหย่ตั้ง อามาตย์ชุมสะหมาน

(สิลา วีระวงส์, 1969: 2-3) เมืองจ าปานคร มีผู้คนหลากหลายเชื้อสายเผ่าพันธุ์มาอาศัยอยู่ร่วมกัน มีการค้าขายกับเรือ ส าเภาที่มาจากดินแดนที่ห่างไกล ดังนี้

นับแต่เดินดุ่งดั้น หลายย่านนครขวาง หลายภาษา ต่างแชงชาวค้า เช็งนครท้าว จ าปาปุนประเทศ ทุกท่วยใต้ลุ่มฟ้า โฮมหั้นชู่เชียง เฮาดุงดั้น เดินฮอดนะคอนขวาง ยูกะเสริมสุข ซู่เมืองมาเต้า

สะเพาเทียวเท้า แดนผีฟ้าต่อ แมนม่านห้อ หลายเชื้อส่ าแซง คุงขอบฟ้า เขาด่านแดนผี ก็มา ชาวขาเขียว ก่ายกะไดเมือฟ้า

97 ใผบ่ปิปายต้าน ค าเพิงพอก่าว

เหมือนว่าชั้นส่ าเชื้อ เชียงกว้างกว่าไกล ยิงแล้ว

(สิลา วีระวงส์, 1969: 41) จากบทกลอนได้แสดงถึงความอุดมสมบูรณ์และความมั่งคั่งทางด้านเศรษฐกิจ ของชาวเมือง เป็งจาลดังนี้

พลพวกพร้อม พิราชล าทวน อากอนเกน ก่าวยอมปีล้าน ทันที่ขัวนัวท้าว เพ็งตาลตั้งช่อ ประดับที่ถ้วน ขนุนมี้ม่วงมัน สรรพสิ่งพร้อม พลเพศมูลผลา เป็นอากร หนู่ยามยังน้อย ปีเดือนย้าย พระคังหลวงล้านชั่ง

สินส่วยเจ้าติ้วส้อย ยนทะกว้างโกธรทอง ท่านเอีย นับไพ่ฟ้า ฝุงอาจอาสา

บานบาหนา หมู่ชุมชาวล้าน

(สิลา วีระวงส์, 1969: 416) 2) ด้านประวัติศาสตร์

จากค าพรรณนาเมืองเป็งจาลในสังข์สินไซ สะท้อนให้เห็นถึงความเจริญรุ่งเรืองของ เวียงจันทน์ในคริสต์ศตวรรตที่ 17 ซึ่งมีความคล้ายคลึงกันกับค าพรรณนาของนักเดินทางที่เป็นนักบวช คือ ท่านมารินี (Giovanni Fillipo de Marini) ที่ได้มาเห็นเมืองเวียงจันทน์ ในปี พ.ศ. 2183 ซึ่งเป็น ช่วงระยะเวลาเดียวกันกับที่ ท่านปางค า ประพันธ์บทกลอนนี้ (ตามการสันนิษฐานว่าแต่งขึ้นในปี พ.ศ.

2193) และชาวฮอลแลนด์ คือ ท่านวันวุดสะตบ (Wanvoustop) ที่เดินทางมาถึงเวียงจันทน์ในสมัย นั้นเช่นกัน

บัดนี้ยังมีนัคเลิศล้ า ชั้นชื่อเป็งจาล นิคมคน คั่งเพ็งพอตื้อ เซียงหลวงล้น ลุงล้นล้านย่าน น้ าแผ่ล้อม ละวังต้ายซั่วตา ฮุ่งค่ าเช้า ซาวเทศเทียวสะเพา

98 อุดมโดย ดั่งเดียววะดึงฟ้า

ลือเกียรติเท้า ธานีในทีบ เมืองใหญ่กว้าง คนเค้าคั่งโฮม

พูเบด ส้างท่อนท้าว กุดสะลาดนามกษัตริย์

ปาเกียมนัน นอกเซียงเซ็งอ้าง นับแต่ บุรีล้ า นครคนใดเปรียบ โรงใหญ่กว้าง อรทมผ่านเซียง ปะดับซ่อฟ้า มุกมาดดาวด า มุงทองแดง หล่อตันตางฟ้า มเหสีเจ้า จันทาเทียมราช โสมยิ่งย้อย ปุนปั้นแปกเขียน บริวารเหน้า ในปางนับหมื่น ประดับเครื่องร้อย ตะเกิงเก้าก่อมผิว ... ...

ราชใหญ่ตั้ง อามาตย์ชุมสะหมาน อาฮามเฮือง ฮุ่งสีแสงแก้ว มีทัง สังคะฮู้ แปท าไขสาด ฮุ่งค่ าเช้า ตามไต้เฮื่อเฮือง”

(สิลา วีระวงส์, 1969: 2-3) เมืองเป็งจาลเป็นนครที่สวยงามวิจิตร มีก าแพงยาวใหญ่ มีหอปราสาทที่มุงด้วยทองค า ประกอบด้วยช่อฟ้าที่สวยงามและมีวัดวาอารามที่รุ่งเรื่องซึ่งสอดคล้องกับค ากลอน “นิราศ เวียงจันทน์” ของแม่ทัพสยามชื่อ “หม่อมเจ้าทัพในกรมหลวงเสนาบริรักษ์” สมัยสงครามปี ค.ศ.

1826 (สิลา วีระวงส์, 1969: ง)

นอกจากนี้เรื่องสินไซ บั้นปลายยังได้กล่าวถึงพระยาสังยะราชบุตรชายของท้าวสังข์สินไซ รบกับลูกชายของท้าวทั้ง 6 อยู่เมืองอินทสาเกตที่เป็นศัตรูกันและในการรบครั้งนี้ลูกท้าวสังข์สินไซได้

เชิญให้หัวเมืองต่างๆ อันมีชื่ออยู่ในประวัติศาสตร์ลาว-ไทย ให้มาช่วยในการท าศึกสงครามครั้งนี้ คือ เมืองห้อหัวของ เมืองทวาย เมืองพะโค เมืองสาวัตถี หรือยูนนาน และเมืองล้านช้าง ดั่งมีปรากฏใน ค ากลอนว่า

99 ก้ าฝ่ายห้อ พระยาใหญ่ หัวของ ก็ถึง

ภูใช้ท้าว เสวยราช เมืองพะโค ก็ถึง พระบาทท้าว เสวยราช เมืองทวาย ก็ถึง พระบาทท้าว เสวยราช สาวัตถี ก็ถึง แม่นว่า สุวรรณภูมห้อง เมืองลาวยศยิ่ง ก็ถึง ขอเชิญ เจ้าล้านช้าง มาพร้อมด้วยมือ ดั่งนี้

(บุนทะวี กมพะพัน, 2016: 75) ส่วนลูกชายของท้าวทั้ง 6 ที่อยู่เมืองอินทสาเกต (สันนิษฐานว่าเป็นเขตจังหวัดสุรินทร์ ศรีสะเกษ และร้อยเอ็ดในปัจจุบัน) ก็ได้เชิญชนเผ่าต่างๆ ที่มีชื่ออยู่ในเรื่องท้าวรุ่งท้าวเจือง ให้มาช่วย คือ เผ่าข้า พางด า เผ่าข้าพางแดง เผ่าข้าดอยง่อย เผ่าข้าดอยฮัง และเผ่าพะนอง เป็นต้น ดังมีปรากฏในค ากลอน ว่า

แม่นว่าพางพายเบื้อง ดอยกองคอนคู่ ก็ดี

เขาก็ก าลังช่วยเจ้า เมืองนั้นไม่บ่หลอ แม่นทุกนครก้ า พนองถองทะนุถนอมราช เมืองฝ่ายชั้น ระแดด้าวโคบเต็ง (เผ่าระแด) ฝูงหมู่ตุมพวนพร้อม ทังปะเลาละวะถิ่น

สลังพ่ าพร้อม ลงส้วยชู่เมือง ภูตุมพร้อม ภูเตาเก้านาค จะลายพ่ าพร้อม ลงเข้าส่วยไร

(สิลา วีระวงส์, 1966: ง) สงครามระหว่างลูกท้าวสินไซกับลูกท้าวทั้ง 6 นั้นสันนิษฐานว่าคือสงครามระหว่างพวก ลาวเชียงใหม่กับพวกขอมและเผ่าข่าที่เป็นเจ้าของถิ่นเดิมตั้งแต่สมัยพญามังรายแห่งนครเชียงแสน (สังข์สินไซ ภาค 1: ต-ถ)

3) เนื้อหาด้านการเมืองการปกครอง

ผู้ประพันธ์ได้ยึดเอาหลักธรรมค าสอนทางพระพุทธศาสนามาเป็นจุดยืนเพื่อให้

ประชาชนมีความสุข และไม่เบียดเบียนกัน ซึ่งแสดงออกทางความคิดและพฤติกรรมของตัวละคร ใน การปกครองบ้านเมือง ครอบครัว ข้าทาสบริวาร ที่ต้องถือตามครองสิบสี่ที่เป็นหลักในการปกครองที่

ยึดถือปฏิบัติกันมาตั้งแต่บรรพบุรุษเหมือนเป็นกฎระเบียบของสังคมและความยุติธรรมในสังคม

100 ส าหรับพระราชาที่ปกครองบ้านเมืองนั้นก็ให้ยึดถือหลักธรรมตามค าสั่งสอนในพระพุทธศาสนาเป็น ที่ตั้ง เพื่อให้เกิดความร่มเย็นและผาสุกแก่ประชาชนและบ้านเมือง

เทือนี้ เฮาจักปุนแปงไว้ เป็นพะยาทรงแท่น หอมไผ่ คุ้มขอบฟ้า ฟังถ้วนทั่วนคร แด่เนอ เถิงเมื่อ เดือนหกให้ ปะทวงเทียวหลายแห่ง เลี้ยงหมู่ หม้ายและฮ้าง ฮวมไฮ้ขะทอดขอ แท้แล้ว อันว่า โยเทดท้าว ทุกทั่วแดนดิน

ให้ฮ่ า ปิปายเหมือน ฮากฮองพายพื้น เลือกผู้แก้ว ปุนไว้ดั่งล า แท้เน้อ ฝูงหนึ่ง อ านาจน้อย เอาแอบตางตา ปุนดัง เป็นสาขา ง่างามละวังไว้

องค์กษัตริย์ไท้ เป็นจอม ยังยอด ฤดูแผ่ผ้ง ผลล้น ลุ่มเทิง ฮสแผ่เทา ตลบทั่ว แดนดิน พึงคณาสัตว์ ชอบชุม ชมฮ้า อันนี้ ยถาแท้ ธรรมเนียม ปุนเปรียบ ครั้นว่า ฮากบ่มั่น พาต้น ตุ่มตาย แท้แล้ว อันหนึ่ง ฝูงเผ่าน้า นามหน่อกุลวงศ์ ก็ดี

ครั้นใผ โดยดอมเขา เบ่าเป็นเมืองบ้าน ปี เดือน แท้ ทานศิลฮีฮ่ า ใผผู้คุณเคร่งให้ สินซ้อยชอบเพ็ง ครั้นจัก ท าการแท้ ซอมดูพลไพร่

ดีชั่วให้ เห็นแจ้งอย่าเลิง พระเอย เมื่อออกห้อง มานั่ง เฮียงขุน ก็ดี

เฮวฮีบท า กระบวนไขคู่เท

พาย้อง ค าใด ดูหมายมั่น มนตรี ทูลทอด ให้ฮีบต้านไต่เสี้ยง ส้นแล้วส่งหนี

... ...

ค านี้ทุกที่แท้ ไม่ใช่เดียวเฮา พระเอย ปุนดังกองหลายหลัว จูดไฟเกียรกว้าง

Dokumen terkait