• Tidak ada hasil yang ditemukan

บทที่ 2

3. มีเนื้อหาสาระและมีความยาวพอสมควร

4. ใช้ภาษากระชับ รัดกุม หนักแน่น ตรงไปตรงมาและใช้ภาษาให้เหมาะสมกับประเภท ของงานเขียน

นอกจากนี้ ภาคภูมิ หรรนภา เสนอแนะวิธีการเขียนค าน าไว้ ดังนี้

1. ค าน าที่หยิบยกเหตุการณ์ที่เป็นข่าวเหตุการณ์ส าคัญมากล่าว โดยสรุปสาระส าคัญ ทั้งนี้ เพียงผู้เขียนจะได้เสนอความคิดเห็นในเชิงวิเคราะห์ วิจารณ์เรื่องราวนั้น ๆ ต่อไป

2. ค าน าที่ตั้งเป็นค าถาม ค าน าลักษณะนี้จะปรากฏค าแสดงค าถามในข้อความหรือ มีเนื้อหาแสดงความสงสัยใคร่หาค าตอบ

3. ค าน าที่กล่าวถึงความส าคัญ ค าน าลักษณะนี้จะมีเนื้อหากล่าวถึงความส าคัญของ เรื่องราวที่จะเสนอความคิด ข้อเท็จจริงในส่วนเนื้อเรื่อง

4. ค าน าหยิบยกเหตุการณ์เรื่องราวที่เห็นว่าไม่เหมาะสมไม่ถูกต้องมากล่าว ผู้เขียนจะ เสนอภาพเหตุการณ์หรือเรื่องราวที่คิดเห็นว่าไม่ถูกต้อง ไม่เหมาะสมในค าน าแล้วจึงแสดงความ คิดเห็นในเชิงวิเคราะห์วิจารณ์ต่อไปในส่วนเนื้อเรื่อง

5. ค าน าที่ทักทายผู้อ่าน ชวนผู้อ่านสนทนาผู้เขียนมักจะใช้ค าทักทายหรือแสดงค าพูดที่

เป็นกันเองกับผู้อ่าน เพื่อชวนให้ผู้อ่านสนใจติดตามอ่านเนื้อหา

6. ค าน าที่ให้ค าจ ากัดความหรือนิยามค าศัพท์ ค าน าลักษณะนี้ผู้เขียนจะอธิบาย ความหมายของค าศัพท์ที่ปรากฏในชื่อเรื่อง เพื่อปูพื้นฐานความรู้ให้ผู้อ่านเข้าใจเรื่องก่อนอ่าน เนื้อเรื่องต่อไป

7. ค าน าที่ชวนให้ผู้อ่านคิด เพื่อเรียกร้องความสนใจให้ติดตามอ่านผู้เขียนหยิบยก เรื่องราวที่ดูเหมือนจะไกลตัวผู้อ่าน ผู้อ่านหลายคนมองข้ามไป น ามาให้ผู้อ่านได้คิดในแง่มุม ที่ผู้เขียนต้องการและน าเสนอแง่มุมนั้นในส่วนของค าน า

8. ค าน าที่ตัดตอนข้อความหรือค าพูดของบุคคลที่มีชื่อเสียงมากล่าว ผู้เขียน จะตัดตอนข้อความหรือค ากล่าวของผู้มีชื่อเสียง ซึ่งเกี่ยวข้องกับเรื่องที่ผู้เขียนจะน าเสนอมาไว้

ในส่วนของค าน าเพื่อให้ผู้อ่านมองเห็นความส าคัญของเรื่องนั้น

9. ค าน าที่ใช้ข้อความเปรียบเทียบ ผู้เขียนจะกล่าวน าด้วยการน าข้อความหรือถ้อยค า หรือเรื่องราวที่มีส่วนคล้ายกันหรือแตกต่างกันมาเปรียบเทียบ เพื่อให้ผู้อ่านเห็นความเหมือนหรือ ความต่างจนเกิดความสงสัยใคร่รู้เรื่องราวต่อไป

10. ค าน าที่กล่าวถึงค าพังเพย ส านวน สุภาษิต ค าประพันธ์ ที่เกี่ยวข้องกับเรื่องผู้เขียนจะ น าค าพังเพย ส านวน สุภาษิต ค าประพันธ์ ที่มีความหมายสอดคล้องกับเรื่องที่จะเขียนมาไว้ในส่วน ของค าน า เพื่อเรียกร้องความสนใจให้ค้นหาความจริงในส่วนเนื้อเรื่อง

เจือ สตะเวทิ น (2517 : 127 – 132) อธิบายเกี่ยวกับความน า (Lead) ว่าเขาเปรียบ การขึ้นต้นว่าเหมือนเบ็ดตกปลา คือ ต้องตกผู้อ่านให้ติดตั้งแต่ต้นทีเดียว แล้วเขาจะตามตลอดเรื่อง มีวิธีการขึ้นต้น ดังนี้

1. ความน าที่สรุปความส าคัญ (Summary Lead) ใช้หลัก W ทั้ง 5 คือ Who (ใคร) What (อะไร) When (เมื่อไร) Where (ที่ไหน) Why (ท าไม)

2. ความน าที่กระทบใจ (Punch Lead) ผู้เขียนโจมตีผู้อ่านให้สนใจด้วยความแปลก ประหลาด

3. ความน าที่เป็นข่าว (News Peg Lead) น าข่าวมาดึงความสนใจของผู้อ่าน

4. ความน าที่บอกเจตนา (Statement of Purpose) บอกเจตนาทันทีว่า เขียนบทความนี้เพื่อ อะไร

5. ความน าที่เป็นค าถาม (Question Lead) เป็นค าถามที่ยั่วยุให้ผู้อ่านคิดตั้งแต่ต้น 6. น าด้วยการพรรณนาลักษณะ (Description Lead)

7. ความน าที่เป็นสุภาษิตหรือบทกวี (Epigram Lead)

8. น าด้วยเหตุการณ์เด่นของเรื่อง (The Distinctive Incident Lead) หยิบเอาตอนส าคัญมาน า 9. ความน าที่เป็นเรื่องเล่า (Narrative Lead) หาเรื่องข าขันหรือเกร็ดที่เกี่ยวข้องกับเรื่องที่จะ เขียนมาเล่า

10. ความน าที่เป็นค าอ้าง (Quotation Lead) เป็นการยกเอาค าพูดของคนส าคัญมาแสดง 11. ความน าที่ตรงกันข้าม (Contrast Lead) น าเหตุการณ์บุคคลสถานที่ตรงกันข้ามมากล่าว 12. ความน าที่เอ่ยถึงพื้นฐานด้านหลัง (Background Lead) ยกเอาเรื่องเดิมมากล่าว เพื่อ เปรียบเทียบกับเรื่องที่จะเขียน

13. ความน าที่แสดงสีสัน (Color Lead) การพรรณนาลักษณะสถานที่หรือฉากให้แจ่มชัด 14. ความน าที่ประหลาด (Freak Lead หรือ Novelty) น าความผิดปกติหรือวิตถารมาใช้

ฉัตรา บุญนาค และคณะ (2522 : 122 – 126) กล่าวถึงวิธีการเขียนความน าไว้ 10 วิธี ดังนี้

1. ความน าที่เป็นที่ข่าว (News peg Lead)

2. ความน าที่กระทบใจ (Punch Lead หรือบางแห่งเรียกว่า Striking Statement) 3. ความน าที่บอกเจตนาของผู้เขียน (Statement of Purpose)

4. ความน าที่เป็นเรื่องเล่า (Narrative Lead) 5. ความน าที่เป็นค าถาม (Question Lead)

6. ความน าที่กล่าวถึงเรื่องราวดั้งเดิม (Background Lead) 7. ความน าที่ตรงกันข้าม (Contrast Lead)

8. ความน าที่สรุปใจความส าคัญของเรื่อง (Summary Lead) 9. ความน าที่เป็นค าปราศรัย (Direct Address Lead) 10. ความน าที่เป็นสุภาษิตหรือบทกวี (Epigram Lead)

เสาวนีย์ สิกขาบัณฑิต (2533 : 47 – 50) กล่าวถึงส่วนน าเรื่องว่าเป็นส่วนส าคัญที่ผู้เขียน จะจูงใจให้ผู้อ่านติดตามรายละเอียดในเรื่องต่อไป การเขียนจึงควรมุ่งเร้าความสนใจของผู้อ่าน ให้ความรู้ความเข้าใจแนวความคิดความรู้สึกที่สอดคล้องกับเรื่องที่เขียน ความสอดคล้องดังกล่าว ต้องไม่ใช่การเปิดเผยสาระส าคัญของเรื่อง ซึ่งจะท าให้เรื่องหมดความน่าสนใจและสรุปแนวการ เขียนที่นิยมใช้ในการเขียนส่วนน าเรื่อง ไว้ดังนี้

1. การเขียนส่วนน าเรื่องด้วยข้อเขียนบอกเล่าธรรมดา 2. การเขียนส่วนน าเรื่องด้วยค าถาม

3. การเขียนส่วนน าเรื่องด้วยค าประพันธ์ที่มีชื่อเสียง 4. การเขียนส่วนน าเรื่องด้วยการยกค าพูด

5. การเขียนส่วนน าเรื่องแบบพรรณนา 6. การเขียนส่วนน าเรื่องด้วยการนิยาม

7. การเขียนส่วนน าเรื่องแบบเสนอแนวคิดที่ขัดแย้ง

ปราณี สุรสิทธิ์ (2549 : 140 – 144) กล่าวถึงความน าว่า เป็นส่วนของการเปิดเรื่อง เพื่อเรียกให้

ผู้อ่านเกิดความสนใจใคร่รู้และกระหายที่จะได้อ่านเรื่องต่อไปความน าที่นิยมเขียนสรุปได้ ดังนี้