• Tidak ada hasil yang ditemukan

นอกจากนี้ผู้น าที่ดีต้องมีความสามารถในการใช้แรงจูงใจเพื่อกระตุ้นให้ลูกน้องท างานอย่างมี

ประสิทธิภาพ แยกแยะบุคลากรและใช้ความสามารถในการใช้แรงจูงใจเพื่อผลักดันให้บุคคล ท างานอย่างเต็มก าลังสามารถ การรู้จักนิสัยใจคอ ความชอบส่วนตัวของลูกน้อง นอกจากจะท าให้

ได้งานที่มีประสิทธิภาพขึ้นแล้วยังเป็นข้อหนึ่งที่แสดงให้เห็นว่าผู้น าเอาใส่ใจต่อลูกน้องของเขาเป็น อย่างดีด้วย

22) เป็นคนใจกว้าง มีน ้าใจ เอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ ให้การสนับสนุนและช่วยเหลือ ส่วนรวม เป็นผู้รับใช้ที่ดี และเต็มใจ ในกรณีที่ไม่สามารถช่วยเหลือด้วยตนเองก็ควรแนะน าและชี้

ทางให้ ไม่ปฏิเสธอย่างขาดเยื่อใย

23) สามารถเป็นแบบอย่างในการปฏิบัติ ไม่ดีแต่พูดหรือบอกคนอื่นให้ท า 24) มีวุฒิภาวะทางอารมณ์ เช่นมีสมาธิดี มีความสามารถในการปรับตัวและมี

ความยืดหยุ่น

25) มีความสามารถทั้งความสามารถในการปฏิบัติ ความสามารถที่จะจัดการกับ ความขัดแย้ง ความสามารถที่จะคลี่คลายปัญหาให้ผู้อื่น และมีความสามารถในการสื่อสาร มี

ศิลปะในการเจรจา สามารถสื่อให้ผู้อื่นเข้าใจในสิ่งที่ตนเองคิด

โดยสรุป คุณสมบัติของผู้ชุมชนที่ดีคือ ต้องมีความรู้ความสามารถ สามารถเป็นผู้น า ให้

ประชาชนและชุมชนศรัทธาให้ความเชื่อถือ สามารถควบคุมอารมณ์ได้ มีความกล้าหาญ มี

ไหวพริบฉลาด เสียสละ มีทัศนคติเชิงบวก สุขุมรอบคอบ มีความเด็ดขาด ตัดสินใจได้ดีในการบริหาร มี

ความเชื่อมั่นในตนเอง มีวิสัยทัศน์มองการณ์ ไกล ยอมรับการเปลี่ยนแปลง เป็นผู้น าการเปลี่ยนแปลง คิดนอกกรอบ มีความคิดริเริ่ม มีเป้าหมายการท างาน มีมนุษย์สัมพันธ์ที่ดี มีความรับผิดชอบ มีวุฒิ

ภาวะทางอารมณ์ สามารถสร้างทีมงานได้ มีแรงบันดาลใจ และสามารพัฒนาผู้อื่นได้ ผู้น าชุมชนจึง เป็นผู้ท าหน้าที่น าความคิด นวัตกรรมใหม่ไปประยุกต์หรือไปคิดค้นเพื่อพัฒนาชุมชนตนเอง เป็น เสมือนผู้ท าหน้าที่ในการเชื่อมโยงเรื่องต่าง ๆ หน่วยงานต่าง ๆ และบุคคลต่าง ๆ เพื่อเข้ามาหนุนเสริม ชุมชนให้ได้รับการพัฒนาที่สอดคล้องกับวิถีชีวิตของชุมชน

สนธยา พลศรี (2547, น. 55) ได้กล่าวถึงบทบาทของผู้น าชุมชน สรุปได้ว่า ผู้น าชุมชน เป็นผู้ที่น าบทบาทในการประสานความคิดของสมาชิกกลุ่ม จัดกระบวนการเพื่อให้สมาชิกได้แสดง ความคิดเห็น เป็นผู้ที่ไม่ผูกขาดความคิดหรือเป็นเจ้าของชุมชนเพียงผู้เดียว แต่วางบทบาทตนเองที่

พร้อมจะแลกเปลี่ยนข้อมูลความคิดเห็นกับสมาชิกและผู้อื่นเสมอ

อาคม วัดไธสง (2547, น. 71-78) ได้กล่าวถึงบทบาทของผู้น าไว้หลายด้านสรุปได้ดังนี้

1) บทบาทในด้านการก าหนดวิสัยทัศน์ของกลุ่มหรือองค์กรและน าสมาชิกกลุ่ม หรือคนในชุมชนด าเนินงานให้บรรลุวิสัยทัศน์ที่ตั้งไว้

2) บทบาทการกระตุ้นจูงใจให้ผู้ตามได้เกิดความกระตือรือร้นที่จะท าตามบทบาท ที่ได้รับมอบหมาย หรือเกิดแรงจูงใจที่จะคิดค้นกิจกรรมใหม่ในการพัฒนากลุ่ม พัฒนาบุคลิกตนเอง เพื่อสร้างอิทธิพลให้เกิดขึ้นเหนือพฤติกรรมของคนอื่นในกลุ่ม

3) บทบาทในการเป็นนักวิเคราะห์ ที่จะต้องวิเคราะห์ปัญหา วิเคราะห์งาน แผนงานต่าง ๆ ของกลุ่มเพื่อให้เกิดความเท่าทันและป้องกันปัญหาที่อาจจะเกิดขึ้น

4) บทบาทในการเป็นนักวางแผน ทั้งวางแผนในตัวบุคคล กิจกรรม วางแผนการ ปฏิบัติงาน วางแผนงบประมาณขององค์กร และตัดสินใจว่าจะใช้วิธีการใดหรือใช้อะไรมา ประกอบการด าเนินงาน ดังนั้นผู้น าจึงจ าเป็นที่จะต้องเป็นผู้มีความรู้ความเข้าใจระบบการรายงาน ผลการด าเนินงาน จะท าให้สามารถประสานกิจกรรมต่าง ๆ ของกลุ่มได้

5) ผู้น าในฐานะตัวแทนกลุ่มเพื่อติดต่อกับภายนอก ผู้น าจึงจ าเป็นที่จะต้องมี

ความเข้าใจในรูปแบบการปฏิสัมพันธ์กับบุคคล เข้าใจเครือข่ายการสื่อสาร เข้าใจระบบการ รายงานผลการด าเนินงานจะท าให้สามารถประสานกิจกรรมต่าง ๆ ของกลุ่มได้

6) ผู้น าในฐานะเป็นผู้ควบคุมความสัมพันธ์ภายในกลุ่มน าบทบาทประสานบุคคล ภายในกลุ่ม ควบคุมดูแลเรื่องต่าง ๆ ภายในกลุ่ม พัฒนาระบบความสัมพันธ์ที่ดีให้เกิดขึ้นภายใน กลุ่ม

7) บทบาทในฐานะเป็นผู้ไกล่เกลี่ย เมื่อเกิดความขัดแย้งขึ้นในกลุ่มผู้น าต้องท า ความเข้าใจสาเหตุของความขัดแย้งอย่างละเอียดรอบคอบ วินิจฉัยปัญหาที่เกิดขึ้น มี

ความสามารถในการเจรจาต่อรองไกล่เกลี่ยเพื่อจัดการกับความขัดแย้งอย่างมีประสิทธิภาพ 8) ผู้น าในฐานะที่เป็นแบบอย่าง ผู้น าที่ดีควรมีพฤติกรรมที่ดี เพื่อเป็นแบบอย่าง แก่สมาชิกกลุ่ม

9) ผู้น าในฐานะเป็นผู้เผยแพร่และถ่ายทอดข้อมูลข่าวสาร อาจจะด้วยวิธีการพูด การเขียน การประกาศ การแลกเปลี่ยน การประชุม เพื่อให้สมาชิกลุ่มได้รับรู้ข้อมูลข่าวสารอย่าง เป็นปัจจุบัน

กรมพัฒนาชุมชน (2553) บทบาทผู้น าชุมชนต้องมีแรงผลักดันให้ท างานส าเร็จ เมื่อ ท างานส าเร็จจะเป็นแรงจูงใจให้ท าสิ่งอื่นต่อไป ผู้น าต้องมีบทบาทความรับผิดชอบสูง โดยเฉพาะการ ท างานกับบุคคลในชุมชนเพื่อให้ชุมชนสามารถส ารวจปัญหา ค้นหาปัญหา และวิเคราะห์ปัญหา หา แนวทางแก้ไขปัญหาต่างๆ โดยมีบทบาทหลายประการ ดังนี้

1) ด้านเศรษฐกิจ ครัวเรือนสามารถพึ่งตนเองได้ ส่งเสริมอาชีพที่ตอบสนอง ต่อความต้องการของชุมชน ส่งเสริมวิสาหกิจชุมชนตามความเหมาะสม

2) ด้านการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อมในชุมชน บริหารจัดการ ทรัพยากร ธรรมชาติอย่างเหมาะสม เสริมสร้างสภาพแวดล้อมที่ดี ระบบโครงสร้างพื้นฐานเพียงพอ ต่อความต้องการ

3) ด้านสุขภาพอนามัย ระบบโครงสร้างพื้นฐานเพื่อสุขภาพจากการมีส่วนร่วม ของชุมชน การจัดการเพื่อเสริมสร้างสุขภาพการป้องกันโรค การดูแลสุขภาพด้วยตนเอง

4) ด้านศาสนา วัฒนธรรม และประเพณี การนับถือศาสนาที่ยึดเหนี่ยวจิตใจ การมีวิถีชีวิต แบ่งปันเอื้ออาทร การอนุรักษ์สืบสานวัฒนธรรมประเพณีของชุมชน

5) ด้านการพัฒนาคน การจัดการความรู้/ภูมิปัญญา การพัฒนาผู้น า/สมาชิกใน ชุมชน

6) ด้านบริหารจัดการชุมชน การจัดท าระบบข้อมูล การจัดท าแผนชุมชน การ เสริมสร้างการเมือง การปกครองตามระบอบประชาธิปไตย

7) ด้านความมั่นคงในชีวิตและทรัพย์สิน การป้องกันรักษาความปลอดภัยในชีวิต และทรัพย์สินของชุมชน การป้องกันภัยธรรมชาติ

ผู้น าชุมชนเป็นผู้ที่มีหลายบทบาท ทั้งบทบาทในการรวมกลุ่มในชุมชนเพื่อแก้ปัญหา บทบาทในการก าหนดวิสัยทัศน์ขององค์กร บทบาทเป็นผู้น ากลุ่ม ประสานความคิดของสมาชิกในกลุ่ม บทบาทในการให้การศึกษาเสริมสร้างกระบวนการเรียนรู้เพื่อแก้ปัญหา บทบาทในการติดต่อประสาน ความร่วมมือกับหน่วยงานภายนอก บทบาทในการเป็นผู้เชื่อมประสานความเข้าใจของคนในชุมชน บทบาทในการอ านวยความสะดวกในด้านต่าง ๆ แก่สมาชิก เป็นต้น

ตอนที่ 3 ปรัชญาการศึกษาผู้ใหญ่ และหลักการเรียนรู้ของผู้ใหญ่

ครรชิต พุทธโกษา (2554, น. 4) ได้สรุปบทเรียนของส านักงานคณะกรรมการวิจัย แห่งชาติ หรือ วช. ซึ่งได้สร้างชุมชนแห่งการเรียนรู้มาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2550 จนถึง พ.ศ. 2553 และ พบว่าชุมชนแห่งการเรียนรู้ที่มีศักยภาพและมีโอกาสประสบผลส าเร็จ ต้องมีองค์ประกอบส าคัญ 7 ประการ คือ

1) มีผู้น าที่ดี: จะต้องมีผู้น าการเปลี่ยนแปลงที่มีวิสัยทัศน์ มีความรู้ สามารถบริหาร จัดการ ประสานงาน รวมถึงกระตุ้นให้สมาชิกมีส่วนร่วมในการพัฒนา

2) มีกรรมการชุมชนที่มีธรรมาภิบาลและมีการบริหารจัดการชุมชนที่ดี: ชุมชนต้องมี

กรรมการที่เข้มแข็ง มีคุณธรรมจริยธรรม มีความมุ่งมั่น บริหารงานโปร่งใส

3) มีความร่วมมือจากสมาชิกในชุมชน สมาชิกชุมชนที่มีจิตส านึกเพื่อส่วนรวม มาร่วม คิด ร่วมด าเนินการ ร่วมรับผิดชอบในทุกกระบวนการ

4) มีการเรียนรู้เพื่อการแก้ปัญหาและพัฒนาชุมชนอย่างต่อเนื่อง: ชุมชนต้องมีการเรียนรู้

เพื่อใช้ในการแก้ปัญหาและพัฒนาตลอดเวลา รวมทั้งต้องถ่ายทอดองค์ความรู้ระหว่างชุมชนอย่าง สม ่าเสมอ

5) มีศักยภาพและความพร้อมเรื่องการพัฒนาอาชีพ: ชุมชนต้องมีความเข้มแข็งในการ พึ่งพาตนเองและมีความสามารถในการแข่งขันด้านเศรษฐกิจ จึงต้องได้รับการพัฒนาสมรรถนะและ ทักษะความพร้อมในการประกอบอาชีพ โดยใช้ความรู้ในการปรับปรุง เปลี่ยนแปลงให้เกิดกรรมวิธี/สิ่ง ใหม่ หรือ พัฒนาให้ดีกว่าเดิม

6) มีการสร้างระบบการจัดเก็บองค์คสามรู้และการน ามาใช้ขององค์ความรู้ที่ดี: ต้องมี

ระบบการเก็บความรู้ทั้งที่มีอยู่ภายในชุมชนและภายนอกชุมชน รวมทั้งต้องรู้จักสร้างและน าความรู้ที่มี

อยู่มาใช้ในการพัฒนาด้านต่าง ๆ อย่างต่อเนื่อง เป็นระบบ โดยเข้าใจได้ง่าย

7) มีการสร้างเครือข่ายความร่วมมือทั้งในและนอกชุมชน: ต้องมีความร่วมมือในด้านทุน กิจกรรม วิชาการองค์ความรู้ การตลาด ฯลฯ มีการจัดการกลุ่มและเครือข่ายที่มีประสิทธิภาพให้เกิด การพัฒนาอย่างเชื่อมโยง ประสานเกี่ยวเนื่อง คลอบคลุมการพัฒนาในทุกบริบท

จากการศึกษาข้างต้นจะเห็นว่าการพัฒนาให้ชุมชนเข้มแข็งต้องเริ่มจากผู้น า ผู้น าที่ดี

จะต้องเป็นผู้น าที่มีวิสัยทัศน์ มีความรู้ ความสามารถในการบริหารจัดการ การประสานงานและ การกระตุ้นให้สมาชิกชุมชนมีส่วนร่วมในการพัฒนา ผู้น าชุมชนถือเป็นพลังส าคัญที่มีบทบาทใน การน าการพัฒนาและปฏิรูปชุมชนไปสู่ความส าเร็จ รวมทั้งช่วยส่งเสริมศักยภาพของสมาชิกใน

Garis besar

Dokumen terkait