• Tidak ada hasil yang ditemukan

บรรณานุกรม

รวม 15 คะแนน

151 แบบประมินพฤติกรรมของนักเรียน

คำชี้แจง : ครูผู้สอนประเมินพฤติกรรมการมีส่วนร่วมในกิจกรรมของนักเรียนแล้วขีด / ลงในช่องที่

ตรงกับระดับคะแนน เลขที่ ชื่อ-นามสกุล

มีส่วนร่วมในชั้น เรียน

ปฏิบัติงานด้วย ความตั้งใจ

มีความ รับผิดชอบงานที่

ได้รับมอบหมาย

รวม 15

152

เกณฑ์การประเมิน ประเมิน

พฤติกรรม

ระดับคะแนน

5 4 3 2 1

มีส่วนร่วม ในชั้นเรียน

มีส่วนร่วมใน การทำกิจกรรม ดีมาก

มีส่วนร่วมใน การทำกิจกรรม ดี

มีส่วนร่วมใน การทำ กิจกรรมปาน กลาง

มีส่วนร่วมใน การทำ กิจกรรม พอใช้

ไม่เข้าเรียน หรือร่วม กิจกรรมน้อย มากควร ปรับปรุง ปฏิบัติงาน

ด้วยความ ตั้งใจ

ความรับผิดชอบ ต่อการเรียน ดีมาก

ความรับผิดชอบ ต่อการเรียนดี

ความ รับผิดชอบต่อ การเรียน ปานกลาง

ความ รับผิดชอบ ต่อการเรียน พอใช้

ควรปรับปรุง

มีความ รับผิดชอบ งานที่ได้รับ มอบหมาย

ความรับผิดชอบ งานที่ได้รับ มอบหมายดี

มาก

ความรับผิดชอบ งานที่ได้รับ มอบหมายดี

ความ

รับผิดชอบงาน ที่ได้รับ มอบหมาย ปานกลาง

ความ รับผิดชอบ งานที่ได้รับ มอบหมาย พอใช้

ควรปรับปรุง

เกณฑ์การให้คะแนน

เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ

ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ

11-15 ดีมาก

6-10 ดี

1-5 ผ่าน

ลงชื่อ... ผู้ประเมิน

153

พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช เมื่อครั้งดำรงพระยศเป็น สมเด็จ เจ้าพระยามหากษัตริย์ศึก พระองค์เสด็จขึ้นครองราชย์สมบัติเป็นพระเจ้าแผ่นดินไทย เมื่อวันที่

6 เมษายน พ.ศ. 2325 แล้วสถาปนาขึ้นเป็นรัชกาลที่ 1 แห่งราชวงศ์จักรี (วันจักรี) ภายหลังเมื่อ เหตุการณ์เข้าสู่ภาวะปกติแล้ว รัชกาลที่ 1 ทรงเล็งเห็นว่าก่อนจะประกอบพิธีปราบดาภิเษกขึ้นเป็น พระมหากษัตริย์ เห็นว่าควรจะย้ายราชธานีไปอยู่ฟากตะวันออกของแม่น้ำเจ้าพระยา เนื่องจาก บริเวณที่ทรงเลือกที่จะสร้างพระราชวังนั้น เคยเป็นสถานีการค้าขายกับชาวต่างประเทศในแผ่นดิน สมเด็จพระนารายณ์มหาราช ซึ่งแต่เดิมเรียกว่า “บางกอก”

==============================================================

ภาพที่ 1

พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ที่มา : https://th.wikipedia.org/wiki

สืบค้นเมื่อ : วันที่ 14 กันยายน 2564

154

ภาพที 3 : แผนอาณาจักรธนบุรี

ที่มา :https://board.postjung.com/733531 สืบค้นเมื่อ : 14 กันยายน 2564

1. กรุงธนบุรีเป็นเมืองที่มีการสร้างป้อมปราการเอาไว้ทั้งสองฝั่งแม่น้ำ โดยเอาแม่น้ำผ่า กลาง (เรียกว่าเมืองอกแตก) เหมือนเมืองพิษณุโลกมีประโยชน์ตรงที่อาจเอกเรือรบไว้ในเมืองเมื่อ เวลาถูกข้าศึกมาตั้งประชิดแต่การรักษาเมืองคนข้างในจะถ่ายเทกำลังเข้ารบพุ่งรักษาหน้าที่ได้ไม่

ทันท่วงทีเพราะต้องข้ามแม่น้ำ แต่แม่น้ำเจ้าพระยาทั้งกว้างและลึกจะทำสะพานข้ามก็ไม่ได้ ทำให้

ยากแก่การรักษาพระนครเวลาข้าศึกบุก

2. กรุงธนบุรีอยู่ในท้องคุ้งน้ำ ทำให้น้ำกัดเซาะตลิ่งพังได้ง่าย

3. บริเวณพระราชวังเดิมของสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชคับแคบ มีวัดขนาบทั้งสองข้าง คือวัดแจ้ง (วัดอรุณราชวราราม) กับวัดท้ายตลาด (วัดโมฬีโลกยาราม) ทำให้ยากแก่การขยาย พระราชวังให้กว้างออกไป

155

ภาพที่ 4 : แผนที่กรุงธนบุรีฟากฝั่งแม่น้ำเจ้าพระยา ที่มา :https://www.trueplookpanya.com/learning/detail/31352

สืบค้นเมื่อ : 14 กันยายน 2564

1. ทางฝั่งกรุงเทพฯเป็นที่ชัยภูมิเหมาะสมเพราะเป็นหัวแหลมถ้าสร้างเมืองแต่เพียง ฟากเดียว จะได้แม่น้ำใหญ่เป็นคูเมืองทั้งด้านตะวันตกและด้านใต้ เพียงแต่ขุดคลองเป็นคูเมือง แต่ด้านเหนือและด้านตะวันออกเท่านั้น ถึงแม้ว่าข้าศึกจะเข้ามาโจมตีก็พอต่อสู้ได้

2. เนื่องด้วยทางฝั่งตะวันออกนี้ พื้นที่นอกคูเมืองเดิมเป็นพื้นที่ลุ่มที่เกิดจากการตื้นเขิน ของทะเล ข้าศึกจะยกทัพมาทางนี้คงทำได้ยาก ฉะนั้นการป้องกันพระนครจะได้มุ่งป้องกันเพียง ฝั่งตะวันตกแต่เพียงด้านเดียว

3. ฝั่งตะวันออกเป็นพื้นที่ใหม่ สันนิษฐานว่าชุมชนใหญ่ในขณะนั้นคงจะมีแต่ชาวจีนที่

เกาะกลุ่มกันอยู่จึงสามารถขยายออกไปได้อย่างกว้างขวาง และขยายเมืองได้เรื่อย ๆ

156

+++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++

คำสั่ง : ให้นักเรียนตอบคำถามต่อไปนี้ให้ถูกต้องและครบถ้วน (20 คะแนน)

1. สาเหตุของการย้ายราชธานีจากกรุงธนบุรีมาตั้งที่อาณาจักรรัตนโกสินทร์

...

...

...

...

...

...

...

2. ปัจจัยของการเลือกทำเลที่ตั้งฝั่งตะวันออกของแม่น้ำเจ้าพระยา

...

...

...

...

...

...

...

...