• Tidak ada hasil yang ditemukan

ข้อเสนอแนะในการนำาผลการวิจัยไปใช้

สมมติฐานของการวิจัย

1. ข้อเสนอแนะในการนำาผลการวิจัยไปใช้

ความพึงพอใจต่อวิธีสอนและความคงทน ใน การเรียนรู้ คณิตศาสตร์ เรื่อง ระบบจำานวนเต็ม ของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ที่ได้

รับการสอนตามทฤษฎี Constructivist กับการ สอนแบบปกติ ผลการวิจัยพบว่า วิธีสอนตาม ทฤษฎีConstructivist กับวิธีสอนแบบปกติ ก่อน เรียนและหลังเรียน พบว่านักเรียนทั้งสองกลุ่ม มี

ค่าคะแนนเฉลี่ย ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน หลัง เรียน สูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำาคัญทางสถิติ

ที่ระดับ 0.01 และสอดคล้องกับผลการวิจัยของ ยุภาภรณ์ ชมนาวัง (2555: 62) ได้พัฒนาการ เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง รูป สี่เหลี่ยม การคิดวิเคราะห์ และแรงจูงใจในการ เรียน ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ที่เรียน ด้วยการจัดการเรียนรู้ตามทฤษฎี Constructivist และการเรียนรู้แบบปกติผลการวิจัยพบว่า นักเรียน ที่เรียนด้วยการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามทฤษฎี

Constructivist และการเรียนรู้แบบปกติ มีคะแนน หลังการจัดการเรียนรู้สูงกว่าก่อนจัดการเรียนรู้

อย่างมีนัยสำาคัญทางสถิติที่ระดับ 0 .05 ทั้งนี้

อาจเนื่องมาจาก ผู้วิจัยได้จัดกิจกรรมการเรียนรู้

ตามขั้นตอนของกระบวนการเรียนรู้ตามทฤษฎี

Constructivist ที่ ทิศนา แขมมณี (2552: 291- 293) เสนอไว้ คือ ขั้นการสร้างความขัดแย้งทาง ปัญญา ขั้นการดำาเนินกิจกรรมไตร่ตรอง และขั้น สรุปผล การสร้างโครงสร้างใหม่ทางปัญญา โดย แผนการจัดการเรียนรู้ที่ผู้วิจัยสร้างขึ้นประกอบ ด้วย ขั้นนำาเข้าสู่บทเรียน มีการเตรียมความพร้อม ของนักเรียน การทบทวนความรู้เดิม เพื่อกระตุ้น ให้นักเรียนระลึกถึงประสบการณ์เดิมเพื่อเป็นพื้น ฐานในการสร้างโครงสร้างใหม่ทางปัญญา ขั้น สอน เป็นการจัดกิจกรรมเพื่อเสนอเนื้อหาใหม่ซึ่ง ประกอบไปด้วย 4 ขั้นตอนย่อย ได้แก่ สร้างความ ขัดแย้งทางปัญญา ดำาเนินกิจกรรมไตร่ตรองปัญหา สรุปโครงสร้างใหม่ทางปัญญา ฝึกทักษะและนำาไป ใช้และขั้นการประเมินผล โดยครูมีบทบาทเพียง

เป็นผู้อำานวยความสะดวกในการจัดกิจกรรมการ เรียน (วรรณทิพา รอดแรงค้า, 2541: 26) ที่

มุ่งมั่นในการเสริมสร้างแรงจูงใจในการเรียนเพื่อ มุ่งสู่ความสำาเร็จในการเรียนของนักเรียนให้ดีกว่า นักเรียนที่เรียนแบบปกติ

ข้อเสนอแนะ

ใช้แผนการจัดการเรียนรู้ตามทฤษฎี Constructivist กับแผนการจัดการเรียนรู้วิธีอื่นๆ หรือกับนักเรียน ระดับชั้นอื่นๆ

2.2 ควรนำาวิธีการจัดการเรียนรู้ตาม ทฤษฎี Constructivist ไปใช้กับเนื้อหาอื่นในวิชา วิทยาศาสตร์ระดับชั้นต่างๆ เพื่อศึกษาว่าวิธีการ

สอนนี้เหมาะสมหรือไม่ เหมาะสมกับเนื้อหาใด ระดับชั้นใด จะสามารถพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียน ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์และ เจตคติต่อการเรียนวิทยาศาสตร์เหมือนหรือต่าง กันอย่างไร

เอกสารอ้างอิง

กระทรวงศึกษาธิการ. (2551). หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551.กรุงเทพฯ:

โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย.

ทิศนา แขมณี. (2552). ศาสตร์การสอน: องค์ความรู้เพื่อจัดกระบวนการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพ.

กรุงเทพฯ: ด่านสุทธาการพิมพ์จำากัด.

มัณฑนา แพทย์ผล. (2550). การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ความพึงพอใจต่อวิธีสอนและความ คงทน ในการเรียนรู้ คณิตศาสตร์ เรื่อง ระบบจำานวนเต็ม ของนักเรียน ระดับชั้นมัธยมศึกษา ปีที่ 1 ที่ได้รับการสอนตามแนวคอนสตรัคติวิซึม กับการสอนแบบปกติ. วารสารศึกษาศาสตร์

มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, 1 (3), 94-95.

ยุภาภรณ์ ชมนาวัง. (2555). การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง รูปสี่เหลี่ยมการคิดวิเคราะห์

และแรงจูงใจในการเรียนของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ที่เรียนด้วยการจัดกิจกรรมการ เรียนรู้ตามแนวคิดทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์และการเรียนรู้แบบปกติ. วารสารศึกษาศาสตร์

มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, 6 (1), 62-63.โรงเรียนครบุรี. (2554). รายงานผลการประเมิน ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ปีการศึกษา 2553-2554.นครราชสีมา: โรงเรียนครบุรี.

วาสน์ กรมจรรยา. (2553). การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามแนวคอนสตรัคติวิซึม กลุ่มสาระการเรียน รู้วิทยาศาสตร์ เรื่องสารในชีวิตประจำาวัน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6.วิทยานิพนธ์ กศ. ม. , มหาสารคาม: มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.

วรรณทิพา รอดแรงค้า. (2540). Constructivism. กรุงเทพฯ: ภาควิชาการศึกษาคณะศึกษาศาสตร์

มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.

สถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ. (2553). ประกาศผลคะแนน O-NET. กรุงเทพฯ: สถาบันทดสอบ ทางการศึกษาแห่งชาติ (องค์การมหาชน). สำานักนายกรัฐมนตรี, สำานักงานคณะกรรมการ พัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ.

วรรณทิพา รอดแรงค้า. (2554). แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 11 (25Z55 - 2559).

กรุงเทพฯ: องค์การรับส่งสินค้าและพัสดุภัณฑ์ (ร. ส. พ. ).

สุมาลี ชัยเจริญ และคณะ. (2549). การพัฒนากระบวนการสร้างความรู้ของผู้เรียนตามแนวคิดทฤษฎี

คอนสตรัคติวิสต์ (Constructivism) โดยความร่วมมือของครูและนักการศึกษา. ขอนแก่น:

รายงานการวิจัยโครงการวิจัยประเภทอุดหนุนทั่วไป. มหาวิทยาลัยขอนแก่น.

อรพินธ์ ช่วยค้ำาชู. (2554). การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและความสามารถในการคิด แก้ปัญหา สาระการเรียนรู้ที่ 3 เศรษฐศาสตร์ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ที่เรียน ตามทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์และเรียนแบบปกติ. วารสารศึกษาศาสตร์มหาวิทยาลัย มหาสารคาม, 5 (2), 29-30.

Books, J. (2010). The effectiveness of constructivist science instructional methods on middle school students’ student achievement and motivation. Dissertation Attracts International. 154 (97): 52 ; June.

เป็นฐาน กับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบสืบสวนสอบสวน

A Comparisons of Learning Achievement, Science Process

Garis besar

Dokumen terkait