• Tidak ada hasil yang ditemukan

ไฟล์เอกสารในแต่ละรายวิชา

6. ด้านปฏิสัมพันธ์และการสื่อสารที่

หลากหลาย

การทำางานในส่วนของห้องเรียนได้พัฒนา ให้สามารถใช้งาน เรียวไทม์สไลด์ วีดีโอคอนเฟอร์

เรนซ์ แชทรูม และไวท์บอร์ด ซึ่งสามารถใช้งานร่วม กันได้อย่างราบรื่น โดยสามารถรองรับจำานวนผู้ใช้

งานได้พร้อมกัน 50 คน การใช้ในส่วนของคอน

เฟอร์เรนซ์ผู้สอนและผู้เรียนสามารถเข้าใช้ในส่วน นี้ได้อย่างอิสระ โดยสามารถทำาการสื่อสารทั้ง ภาพและเสียง นอกจากนี้ยังสามารถควบคุมการ หยุดภาพและเสียงของบุคคลอื่นได้ ส่วนของไวท์

บอร์ดสามารถเข้าใช้งานได้ร่วมกัน โดยสามารถใช้

เสียง หรือ แชทรูม เข้ามามีส่วนช่วยในการสื่อสาร ดังภาพประกอบ 6

6. ดานปฏิสัมพันธและการสื่อสารที่หลากหลาย

การทํางานในสวนของหองเรียนไดพัฒนาใหสามารถใชงาน เรียวไทมสไลด วีดีโอ คอนเฟอรเรนซ แชทรูม และไวทบอรด ซึ่งสามารถใชงานรวมกันไดอยางราบรื่น โดยสามารถ รองรับจํานวนผูใชงานไดพรอมกัน 50 คน การใชในสวนของคอนเฟอรเรนซผูสอนและผูเรียน สามารถเขาใชในสวนนี้ไดอยางอิสระ โดยสามารถทําการสื่อสารทั้งภาพและเสียง นอกจากนี้ยัง สามารถควบคุมการหยุดภาพและเสียงของบุคคลอื่นได สวนของไวทบอรดสามารถเขาใชงานได

รวมกัน โดยสามารถใชเสียง หรือ แชทรูม เขามามีสวนชวยในการสื่อสารดังภาพประกอบ 6

ภาพประกอบ 6 หองเรียนเสมือนออนไลน ระบบคอนเฟอรเรนซ และไวทบอรด

7. ดานการใชงานไดหลายเพลตฟอรม

ระบบนี้พัฒนาใหสามารถรองรับไดหลายเพลตฟอรม อาทิ คอมพิวเตอร

โทรศัพทมือถือประเภทสมารทโฟน และ แทปเล็ต ดังภาพประกอบ 7

ภาพประกอบ 6 ห้องเรียนเสมือนออนไลน์ ระบบคอนเฟอร์เรนซ์ และไวท์บอร์ด 7. ด้านการใช้งานได้หลายเพลตฟอร์ม

ระบบนี้พัฒนาให้สามารถรองรับได้หลาย

เพลตฟอร์ม อาทิ คอมพิวเตอร์ โทรศัพท์มือถือประ เภทสมาร์ทโฟน และ แทปเล็ต ดังภาพประกอบ 7

ผลการทดสอบการทำางานของระบบแบบ White Box เป็นไปตามอัลกอลิทึมที่ได้ออกแบบไว้

ผลการทดสอบระบบแบบ Black Box ทำางานได้

ทุกฟังก์ชันที่ออกแบบ ผลทดสอบการเข้าใช้งานพ ร้อมๆกัน 50 คนใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ และผลทดสอบการประชุมทางไกลของคณาจารย์

ที่อยู่ประเทศไทย ออสเตรเลีย และประเทศอังกฤษ ผลการทดสอบเป็นไม่ประสบปัญหาแต่อย่างใด สามารถประชุมพูดคุยได้อย่างราบรื่น

ผลการประเมินระบบบริหารจัดการ ห้องเรียนเสมือนออนไลน์สำาหรับผู้เรียนที่มี

คุณลักษณะเหมาะสมกับการเรียนออนไลน์โดยผู้

เชี่ยวชาญ หลังทดลองใช้งาน โดยรวมอยู่ในระดับ ดีมาก ( =4.55, S.D. =0.48) ถ้าแยกเป็นรายด้าน พบว่า ด้านความปลอดภัย ( =4.74, S.D. =0.48) และด้านความสามารถในการทำางานของระบบ ( =4.62, S.D.=0.42) อยู่ในระดับดีมาก ด้าน การใช้งานของระบบห้องเรียนเสมือนอยู่ในระดับดี

( =4.28, S.D.=0.55)

ผลการประเมินระบบบริหารจัดการ ห้องเรียนเสมือนออนไลน์สำาหรับผู้เรียนที่มี

คุณลักษณะเหมาะสมกับการเรียนออนไลน์โดย ผู้เรียน

หลังจากกลุ่มตัวอย่างได้ทำาการเรียนการ สอนผ่านระบบดังกล่าว ความคิดเห็นจากการ ตอบแบบประเมิน โดยรวมอยู่ในระดับดี ( =4.22,

S.D.=0.66) เรียงตามคะแนนเฉลี่ยจากมากไป น้อยตามลำาดับได้ดังนี้ ด้านความสามารถในการ ทำางานของระบบ ( =4.29, S.D.=0.70) ด้าน ความปลอดภัย ( =4.18, S.D.=0.64) และด้าน การใช้งานของระบบห้องเรียนเสมือน ( =4.16, S.D.=0.63)

อภิปรายผล

1. คุณลักษณะของผู้เรียนที่เหมาะสม กับการเรียนออนไลน์ ประกอบไปด้วย 4 ด้าน ได้แก่ ทักษะและความสามารถในการใช้อุปกรณ์

และเครื่องมือสื่อสาร ทักษะทางวิชาการ ทักษะ ทางสังคม และคุณลักษณะการเรียนรู้ด้วยตนเอง เนื่องจากงานวิจัยและทฤษฏีคุณลักษณะของ ผู้เรียนที่เหมาะสมกับการเรียนออนไลน์ส่วนมาก ได้ระบุไว้ ได้แก่ Marcel และคณะ (Marcel, 2006: 91-105), Osaki และ Sharp (Osika

& Sharp. 2003: 318-325), Glendale Community College (DeSoto, 2004), Lynne และ Sunjoo (Lynne & Sunjoo, 2002) และ งานวิจัยมหาวิทยาลัยอิลลินอยส์ (มหาวิทยาลัย อิลลินอยส์, 2543) และสอดคล้องกับความเห็น ของผู้เชี่ยวชาญ

2.ระบบบริหารจัดการห้องเรียนเสมือน ออนไลน์สำาหรับผู้เรียนที่มีคุณลักษณะเหมาะสม กับการเรียนออนไลน์ มีองค์ประกอบ 7 ด้าน ได้แก่

ภาพประกอบ 7 การใชงานระบบผานคอมพิวเตอรของผูสอนและผูเรียน ผลการทดสอบการทํางานของระบบแบบ White Box เปนไปตามอัลกอลิทึมที่ได

ออกแบบไว ผลการทดสอบระบบแบบ Black Box ทํางานไดทุกฟงกชันที่ออกแบบ ผลทดสอบ การเขาใชงานพรอมๆกัน 50 คนใชงานไดอยางมีประสิทธิภาพ และผลทดสอบการประชุม ทางไกลของคณาจารยที่อยูประเทศไทย ออสเตรเลีย และประเทศอังกฤษ ผลการทดสอบเปน ไมประสบปญหาแตอยางใด สามารถประชุมพูดคุยไดอยางราบรื่น

ผลการประเมินระบบบริหารจัดการหองเรียนเสมือนออนไลนสําหรับผูเรียนที่มี

คุณลักษณะเหมาะสมกับการเรียนออนไลนโดยผูเชี่ยวชาญ หลังทดลองใชงาน โดยรวมอยูใน ระดับดีมาก ( =4.55,S.D.=0.48) ถาแยกเปนรายดาน พบวา ดานความปลอดภัย

( =4.74,S.D.=0.48) และดานความสามารถในการทํางานของระบบ ( =4.62,S.D.=0.42) อยูใน ระดับดีมาก ดานการใชงานของระบบหองเรียนเสมือนอยูในระดับดี ( =4.28,S.D.=0.55)

ผลการประเมินระบบบริหารจัดการหองเรียนเสมือนออนไลนสําหรับผูเรียนที่มี

คุณลักษณะเหมาะสมกับการเรียนออนไลนโดยผูเรียน

หลังจากกลุมตัวอยางไดทําการเรียนการสอนผานระบบดังกลาว ความคิดเห็นจากการ ตอบแบบประเมิน โดยรวมอยูในระดับดี ( =4.22,S.D.=0.66) เรียงตามคะแนนเฉลี่ยจากมากไป นอยตามลําดับไดดังนี้ ดานความสามารถในการทํางานของระบบ( =4.29,S.D.=0.70) ดาน ความปลอดภัย ( =4.18,S.D.=0.64) และดานการใชงานของระบบหองเรียนเสมือน ( =4.16,S.D.=0.63)

อภิปรายผล

1. คุณลักษณะของผูเรียนที่เหมาะสมกับการเรียนออนไลน ประกอบไปดวย 4 ดาน ไดแก ทักษะและความสามารถในการใชอุปกรณและเครื่องมือสื่อสาร ทักษะทางวิชาการ ทักษะ ภาพประกอบ 7 การใช้งานระบบผ่านคอมพิวเตอร์ของผู้สอนและผู้เรียน

1) ด้านการชี้แนวทางเพื่อให้ไปถึงเป้าหมาย 2) ด้านความเป็นส่วนตัวและความปลอดภัย 3) ด้าน การจัดการเวลาและการควบคุมกิจกรรม 4) ด้าน การกระตุ้นการอยากเรียนรู้ 5) ด้านการเอื้อต่อการ เรียนรู้ย้อนหลัง 6) ด้านปฏิสัมพันธ์และการสื่อสาร ที่หลากหลาย และ 7) ด้านการใช้งานได้หลายเพล ตฟอร์ม เนื่องจากเป็นผลสำารวจความต้องการ องค์ประกอบระบบบริหารจัดการห้องเรียนเสมือน ออนไลน์สำาหรับผู้เรียนที่มีคุณลักษณะเหมาะ สมกับการเรียนออนไลน์ของกลุ่มตัวอย่าง และ สอดคล้องกับความเห็นของผู้เชี่ยวชาญ

3.ความคิดเห็นของผู้เรียนต่อระบบ บริหารจัดการห้องเรียนเสมือนออนไลน์สำาหรับ ผู้เรียนที่มีคุณลักษณะเหมาะสมกับการเรียน ออนไลน์ หลังจากใช้ระบบพบว่า ความคิดเห็น ของผู้เรียนต่อระบบบริหารจัดการห้องเรียนเสมือน ออนไลน์สำาหรับผู้เรียนที่มีคุณลักษณะเหมาะ สมกับการเรียนออนไลน์โดยรวมอยู่ในระดับดี

( =4.22, S.D.=0.66) เรียงตามคะแนนเฉลี่ยจาก มากไปน้อยตามลำาดับได้ดังนี้ ด้านความสามารถ ในการทำางานของระบบ ( =4.29, S.D.=0.70) ด้านความปลอดภัย ( =4.18, S.D.=0.64) และด้านการใช้งานของระบบห้องเรียนเสมือน ( =4.16, S.D.=0.63) สาเหตุที่ผู้เรียนมีความคิด เห็นโดยรวมอยู่ในระดับดีเนื่องมาจาก การนำาเอา ประสิทธิภาพของระบบห้องเรียนเสมือนออนไลน์

สำาหรับผู้เรียนที่มีคุณลักษณะเหมาะสมกับการ เรียนออนไลน์ ไปเปรียบเทียบกับประสบการณ์

เกี่ยวกับประสิทธิภาพของระบบห้องเรียนเสมือน ออนไลน์ที่ผ่านมาของผู้เรียนอยู่ในระดับดี เพราะ ว่าการที่มนุษย์จะนำาสิ่งที่ตัวเองประสบหรือ พบเห็นแล้วตัดสินว่าดีหรือไม่ดีอย่างไรต้องนำาไป เปรียบเทียบกับประสบการณ์และความต้องการ ของตนเอง ว่าอยู่ในระดับที่ดีกว่าหรือด้อยกว่า ซึ่งสอดคล้องกับงานวิจัยของ ประดินันท์ อุปรมัย (ประดินันท์ อุปรมัย, 2540) ที่กล่าวถึง การเรียนรู้

คือการเปลี่ยนแปลงของบุคคลอันมีผลเนื่องมาจาก การได้รับประสบการณ์ โดยการเปลี่ยนแปลงนั้น เป็นเหตุทำาให้บุคคลเผชิญสถานการณ์เดิมแตกต่าง ไปจากเดิม ทำาให้สามารถตัดสินได้ว่าสิ่งไหน ดีกว่าหรือด้อยกว่า

ข้อเสนอแนะ

1. ข้อเสนอแนะในการนำาผลการวิจัยไปใช้

ก่อนการนำาระบบดังกล่าวนี้ไปใช้สำาหรับ การจัดการเรียนการสอน ผู้สอนควรพัฒนาผู้เรียน ให้มีคุณลักษณะเหมาะสมกับการเรียนออนไลน์

จากงานวิจัยนี้ เพื่อให้สามารถใช้ระบบนี้ในการ จัดการเรียนการสอนได้อย่างมีประสิทธิภาพ

2. ข้อเสนอแนะในการวิจัยครั้งต่อไป ควรศึกษาวิจัยระบบห้องเรียนเสมือน ออนไลน์ที่เหมาะสมกับวิธีการสอนแบบต่างๆ เช่น วิธีการสอนแบบ PBL (Problem Based Learning) หรือ วิธีสอนแบบเรียนรู้ร่วมกัน (Co-operative Learning) เป็นต้น

เอกสารอ้างอิง

ประดินันท์ อุปรมัย. (2540). เอกสารการสอนชุดวิชาพื้นฐานการศึกษา. (พิมพ์ครั้งที่ 15).

นนทบุรี:มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.

ประหยัด จิระวรพงศ์. (2547). หลักการและทฤษฎีเทคโนโลยีทางการศึกษา. มหาวิทยาลัย ศรีนครินทรวิโรฒ, พิษณุโลก.

มหาวิทยาลัยอิลลินอยส์. (สิงหาคม 2543). คุณสมบัติที่ควรมีของผู้เรียนออนไลน์. สืบค้นเมื่อ 29 ธันวาคม 2554, จาก http://www. gotomanager. com/news/details. aspx?id=332

สุรพงษ์ คงสัตย์ และ ธีรชาติ ธรรมวงค์. (2551). การหาค่าความเที่ยงตรงของแบบสอบถาม (IOC) อุทุมพร จามรมาน. (2544). แบบสอบถาม: การสร้างและการใช้. (พิมพ์ครั้งที่ 6). กรุงเทพฯ: ฟันนี่พลับ

บิชชิ่งจำากัด.

Coomey, M. , & Stephenson, J. (2001). Online learning: it is all about dialogue, involvement, support and control-according to research, Chapter 4 in Stephenson, J. (Ed), Teaching and Learning Online: Pedagogies for New Technologies, Kogan Page, London.

DeSoto, M. (2004). Characteristics of the successful online student. English Department at Glendale Community College.

Osika, E. R. , & Sharp, DP. (2003). Minimum technical competencies for distance learning students. Research on Technology in Education, pp. 318-325,

Lynne, S. , & Sunjoo, H. (2002). Characteristics of Successful Tertiary Online Students and Strategies of Experienced Online Educators. presented at the Education and Information Technologies, Printed in the Netherlands.

Kerr, M. S. , Rynearson, K. , & Kerr, M. C. (2006). Student characteristics for online learning success. Internet and Higher Education, 9, 91-105.

Krejcie, R. V. , & Morgan, D. W. (1970). Determining sample size for research activities.

Educational and Psychological Measurement, 30 (3), 608.

Garis besar

Dokumen terkait