• Tidak ada hasil yang ditemukan

กระบวนการคิด การจัดการ การเผชิญสถานการณ์

และการประยุกต์ความรู้มาใช้เพื่อป้องกันและ แก้ไขปัญหา จัดกิจกรรมให้ผู้เรียนได้เรียนรู้จาก ประสบการณ์จริง ฝึกการปฏิบัติให้ทำาได้ คิดเป็น และทำาเป็น รักการอ่านและเกิดการใฝ่รู้อย่างต่อ เนื่อง (สุคนธ์ สินธพานนท์ และคณะ, 2554:

4-6) การจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐานและ การจัดการเรียนรู้แบบคิดแก้เป็นหาเป็นการจัดการ เรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำาคัญ สร้างแรงจูงใจในการ แสวงหาความรู้ด้วยตนเอง เกิดการเรียนรู้วิธีการ แก้ปัญหา รู้จักวิธีการตัดสินใจและการให้ความ เห็น มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์มีความมั่นใจกล้า เผชิญกับปัญหาและใช้หลักการแก้ปัญหาอย่างมี

เหตุผล มีการประยุกต์ใช้ความรู้และประสบการณ์

เดิมรวมกับความรู้ใหม่และกระบวนการต่างๆ เพื่อ ใช้ในการแก้ปัญหา เป็นการสร้างนิสัยใฝ่เรียนรู้เป็น ผู้มีเหตุผลฝึกทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์

พัฒนาการคิดระดับต่างๆ

ผู้วิจัยจึงสนใจในการศึกษาเปรียบเทียบ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน การคิดแก้ปัญหาทาง วิทยาศาสตร์ และเจตคติต่อวิทยาศาสตร์ ระหว่าง การจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐานและการ จัดการเรียนรู้แบบคิดแก้ปัญหา

วัตถุประสงค์

1.เพื่อพัฒนาการจัดการเรียนรู้โดยใช้

ปัญหาเป็นฐานและการจัดการเรียนรู้แบบคิด แก้ปัญหาชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 เรื่องสารและการ เปลี่ยนแปลงให้มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 75/75 2.เพื่อศึกษาดัชนีประสิทธิผลของการ จัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐานและการจัดการ เรียนรู้แบบการคิดแก้ปัญหา

3.เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียน การคิดแก้ปัญหาทางวิทยาศาสตร์ และเจตคติ

ต่อวิทยาศาสตร์ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 เรื่องสารและการเปลี่ยนแปลง ที่ได้รับการจัดเรียน รู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐานและการจัดการเรียนรู้แบบ การคิดแก้ปัญหา

เรื่องสารและการเปลี่ยนแปลงโดยการจัดการเรียน รู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐานและแผนการจัดการเรียน รู้แบบคิดแก้ปัญหารูปแบบการเรียนรู้ละ11 แผน สัปดาห์ละ 3 ชั่วโมง รวมเวลาที่ใช้ในการทดลอง 17 ชั่วโมง

2. แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนวิชาวิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 เรื่อง สารและการเปลี่ยนแปลง ซึ่งเป็นแบบทดสอบแบบ ปรนัยชนิดเลือกตอบ 4 ตัวเลือกจำานวน 30 ข้อมี

ค่าอำานาจจำาแนก (B-Index) อยู่ระหว่าง 0.41- 0.92 และค่าความเชื่อมั่นทั้งฉบับ (rcc) เท่ากับ 0.97

3. แบบวัดการคิดแก้ปัญหาทาง วิทยาศาสตร์ แบบปรนัยชนิด 4 ตัวเลือกจำานวน 28 ข้อมีค่าความยาก (p) อยู่ระหว่าง 0.38-0.58 ค่าอำานาจจำาแนก (r) อยู่ระหว่าง 0.20-0.64 และ มีค่าความเชื่อมั่นทั้งฉบับ (KR-20) เท่ากับ 0.71 4. แบบวัดเจตคติต่อวิทยาศาสตร์เป็น แบบสอบถามใช้มาตราส่วนประมาณค่า (Rating Scale) ตามวิธีของลิเคิร์ท (Likert) มี 5 ระดับ มีค่า อำานาจจำาแนกรายข้อ (rxy) อยู่ระหว่าง 0.32-0.61 และมีค่าความเชื่อมั่นทั้งฉบับเท่ากับ 0.85

วิธีดำาเนินการวิจัย

1. ทดสอบก่อนเรียน (pre-test) ด้วย แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชา วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 เรื่องสารและ การเปลี่ยนแปลง แบบวัดการคิดแก้ปัญหาทาง วิทยาศาสตร์ และแบบวัดเจตคติต่อวิทยาศาสตร์

กับกลุ่มทดลองทั้งสองกลุ่ม

2. ดำาเนินการจัดการเรียนรู้โดยเป็น ผู้สอนเองทั้ง2 กลุ่ม โดยกลุ่มทดลองที่ 1 นักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2/4 จำานวน 30 คนได้รับการ จัดการเรียนรู้โดยใช้แผนการจัดการเรียนรู้โดยใช้

ปัญหาเป็นฐาน และกลุ่มทดลองที่ 2 นักเรียนชั้น

มัธยมศึกษาปีที่ 2/5 จำานวน 34 คน ได้รับการการ เรียนรู้แบบคิดแก้ปัญหาและเก็บรวบรวมคะแนน ระหว่างเรียน ประกอบด้วยคะแนนพฤติกรรม การเรียน ใบงานและการทดสอบย่อย ตาม แผนการจัดการเรียนรู้ทั้ง11 แผน เพื่อวิเคราะห์

ประสิทธิภาพของการจัดการเรียนรู้ทั้ง 2 รูปแบบ 3. ดำาเนินการทดสอบหลังเรียน (post test) ด้วยแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน แบบวัดการคิดแก้ปัญหาทางวิทยาศาสตร์ และ แบบวัดเจตคติต่อวิทยาศาสตร์ กับกลุ่มทดลอง ทั้ง 2 กลุ่ม

4. นำาข้อมูลที่ได้จากการทดลองกับ นักเรียนทั้งสองกลุ่มไปทำาการตรวจวิเคราะห์ทาง สถิติเพื่อสรุปผลการทดลองตามความมุ่งหมาย การวิจัยต่อไป

การวิเคราะห์ข้อมูล

ตอนที่ 1 วิเคราะห์หาประสิทธิภาพของ การจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐานและการ จัดการเรียนรู้แบบคิดแก้ปัญหา ของนักเรียนชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 2 เรื่อง สารและการเปลี่ยนแปลง โดยใช้สถิติพื้นฐานได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วน เบี่ยงเบนมาตรฐานและคำานวณหาประสิทธิภาพ (E1/E2) ของการจัดการเรียนรู้ทั้ง 2 รูปแบบ

ตอนที่ 2 วิเคราะห์หาดัชนีประสิทธิผล ของการจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐานและ การจัดการเรียนรู้แบบคิดแก้ปัญหา ของนักเรียนชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 2 เรื่องสารและการเปลี่ยนแปลง โดยใช้สูตรคำานวณหาค่าดัชนีประสิทธิผล (E.I.)

ตอนที่ 3 เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียน การคิดแก้ปัญหาทางวิทยาศาสตร์ และ เจตคติต่อวิทยาศาสตร์ของนักเรียนที่เรียนโดย การจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน และการจัดการเรียนรู้แบบคิดแก้ปัญหาโดยใช้สถิติ

Hotelling’s T2

ผลการวิจัย

1.นักเรียนที่เรียนด้วยกิจกรรมการเรียน โดยใช้ปัญหาเป็นฐานที่พัฒนาขึ้นมีสัดส่วนคะแนน พฤติกรรมการเรียน: ใบงาน:ทดสอบย่อยเท่ากับ 31.42: 27.67:24.97 คิดเป็นร้อยละ 84.06 นั่น คือประสิทธิภาพกระบวนการ (E1) เท่ากับ 84.06 และคะแนนเฉลี่ยที่นักเรียนทำาได้โดยใช้แบบ ทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน หลังจากได้

รับการจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐานเท่ากับ 24.07 จากคะแนนเต็ม 30 คะแนน คิดเป็น ร้อยละ 80.22 นั่นคือประสิทธิภาพของผลลัพธ์

(E2) เท่ากับ 80.22

สำาหรับนักเรียนที่เรียนด้วยกิจกรรม การเรียนแบบคิดแก้ปัญหาที่พัฒนาขึ้นมีสัดส่วน คะแนนพฤติกรรมการเรียน: ใบงาน: ทดสอบ ย่อย เท่ากับ 32.25: 28.29:24.16 คิดเป็น ร้อยละ 84.71 นั่นคือ ประสิทธิภาพกระบวนการ (E1) เท่ากับ 84.71 และคะแนนเฉลี่ยที่นักเรียน ทำาได้โดยใช้แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนหลังจากได้รับการจัดการเรียนรู้แบบคิด แก้ปัญหาเท่ากับ 24.03 จากคะแนนเต็ม 30 คะแนนคิดเป็นร้อยละ 80.10 นั้นคือประสิทธิภาพ ของผลลัพธ์ (E2) เท่ากับ 80.10 ดังตาราง 1

ตาราง 1 ประสิทธิภาพของแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐานและการจัดการเรียน รู้แบบคิดแก้ปัญหา เรื่องสารและการเปลี่ยนแปลง ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2

การจัดการเรียนรู้ จำานวน คะแนนระหว่างเรียน (E1) คะแนนผลสัมฤทธิ์

นักเรียน (คะแนนเต็ม 100 คะแนน) ทางการเรียน (หลังเรียน) (E2) E1/E2 (คะแนนเต็ม 30 คะแนน)

คะแนนเฉลี่ย ร้อยละ คะแนนเฉลี่ย ร้อยละ

โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน 30 84.06 84.06 24.07 80.22 84.06/80.22 แบบคิดแก้ปัญหา 34 84.71 84.71 24.03 80.10 84.71/80.10

2. ค่าดัชนีประสิทธิผลของการจัดการ เรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน เท่ากับ 0.5447 และ การจัดการเรียนรู้แบบคิดแก้ปัญหา เท่ากับ 0.5189 หมายความว่าหลังจากนักเรียนได้รับการจัดการ

เรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐานและการจัดการเรียนรู้

แบบคิดแก้ปัญหา มีอัตราการเรียนรู้ที่ก้าวหน้า จากพื้นฐานความรู้เดิมเท่ากับร้อยละ 51.89 และ 54.47 ตามลำาดับดังตาราง 2

3. การวิเคราะห์เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์

ทางการเรียนการคิดแก้ปัญหาทางวิทยาศาสตร์

และเจตคติต่อวิทยาศาสตร์ของนักเรียนที่เรียนโดย ใช้แผนการจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐานและ การจัดการเรียนรู้แบบคิดแก้ปัญหา

3.1 ค่าเฉลี่ยส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ของผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนการคิดแก้ปัญหา ทางวิทยาศาสตร์และเจตคติต่อวิทยาศาสตร์ของ นักเรียนที่ได้รับการจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาและ การจัดการเรียนรู้แบบคิดแก้ปัญหาดังตาราง 3 ตาราง 2 ค่าดัชนีประสิทธิผลการจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐานและการจัดการเรียนรู้แบบคิดแก้

ปัญหา เรื่องสารและการเปลี่ยนแปลงชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2

การจัดการเรียนรู้ จำานวน คะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ดัชนีประสิทธิผล

นักเรียน (คะแนนเต็ม 30 คะแนน) (E. I)

คะแนนรวม ก่อนเรียน หลังเรียน

โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน 30 900 509 722 0.5447

แบบคิดแก้ปัญหา 34 1, 020 598 817 0.5189

3.2 การวิเคราะห์เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์

ทางการเรียนการคิดแก้ปัญหาทางวิทยาศาสตร์

และเจตคติต่อวิทยาศาสตร์ ของนักเรียนที่ได้รับ การจัดการจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน และการจัดการเรียนรู้แบบคิดแก้ปัญหาโดยใช้

สถิติ Hotelling’s T2 พิจารณาค่าสถิติ Hotell- ing’s Trace พบว่ามีค่า p=. 281 ซึ่งสูงกว่าระดับ

ตาราง 3 ค่าเฉลี่ยส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนการคิดแก้ปัญหาทาง วิทยาศาสตร์และเจตคติต่อวิทยาศาสตร์ของนักเรียนที่ได้รับการจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหา เป็นฐานและการจัดการเรียนรู้แบบคิดแก้ปัญหา

การจัดการเรียนรู้ การจัดการเรียนรู้

ผลการศึกษา โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน (N=30) แบบคิดแก้ปัญหา (N=34) ก่อนเรียน หลังเรียน ก่อนเรียน หลังเรียน

S.D. S.D. S.D. S.D.

ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 16.97 4.30 24.07 1.86 17.59 4.02 24.03 1.68 การคิดแก้ปัญหาทางวิทยาศาสตร์ 17.43 2.46 24.37 1.73 17.15 4.13 24.85 1.26 เจตคติต่อวิทยาศาสตร์ 74.53 6.27 80.37 1.94 75.68 5.17 81.32 1.70

นัยสำาคัญทางสถิติที่กำาหนด คือ. 01 แสดงว่าค่า เฉลี่ยของผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนการคิดแก้ปัญหา ทางวิทยาศาสตร์ และเจตคติต่อวิทยาศาสตร์

ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 เรื่องสารและ การเปลี่ยนแปลง ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้โดย ใช้ปัญหาเป็นฐานและการจัดการเรียนรู้แบบคิด แก้ปัญหาไม่แตกต่างกัน ดังตาราง 4

อภิปรายผล

1.การจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็น ฐานและการจัดการเรียนรู้แบบคิดแก้ปัญหา ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 เรื่องสาร และการเปลี่ยนแปลงมีประสิทธิภาพ เท่ากับ 84.06/80.22 และ 84.71/80.10 ตามลำาดับ หมายถึง นักเรียนที่ได้รับการจัดการเรียนรู้โดยใช้

ปัญหาเป็นฐานได้คะแนนเฉลี่ยจากกระบวนการ เรียนรู้ซึ่งประเมินจากพฤติกรรมการเรียนใบงาน และแบบทดสอบย่อย ทั้ง 11 แผน คิดเป็นร้อย ละ84.06 และคะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน หลังเรียน คิดเป็น ร้อยละ 80.22 และนักเรียน ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้แบบคิดแก้ปัญหาได้

คะแนนเฉลี่ยจากกระบวนการเรียนรู้ซึ่งประเมิน จากพฤติกรรมการเรียน ใบงาน และแบบทดสอบ ย่อย ทั้ง 11 แผน คิดเป็นร้อยละ 84.71 และ คะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนคิด เป็นร้อยละ 80.10 แสดงว่านักเรียนที่ได้รับ การจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐานและการ จัดการเรียนรู้แบบคิดแก้ปัญหาที่ผู้วิจัยพัฒนาขึ้น มีประสิทธิภาพสูงกว่าเกณฑ์ 75/75 กำาหนดไว้

ทั้งนี้เนื่องแผนการจัดการเรียนรู้ที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น ได้ผ่านกระบวนการสร้างอย่างมีระบบและมีขั้น ตอนโดยเริ่มจากศึกษาจุดมุ่งหมาย มาตรฐานตัว ชี้วัดตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ศึกษารายละเอียดของ

เนื้อหาเรื่องสารและการเปลี่ยนแปลงจากเอกสาร ประกอบการสอนต่างๆ วิเคราะห์ความสัมพันธ์

ระหว่างเนื้อหา/สาระความคิดรวบยอด จุด ประสงค์การเรียนรู้และเวลาเรียนจากหลักสูตร สถานศึกษาโรงเรียนสวายวิทยาคาร ศึกษาเอกสาร งานวิจัยที่เกี่ยวกับการเขียนแผนการจัดการเรียน รู้ตามโดยใช้ปัญหาเป็นฐานและแผนการจัดการ เรียนรู้แบบคิดแก้ปัญหา กำาหนดวัตถุประสงค์

เชิงพฤติกรรม กำาหนดเนื้อหาให้เหมาะสมกับ เวลา กำาหนดกิจกรรมการเรียนการจัดการเรียน รู้ที่ทำาให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ได้จริง กำาหนด สื่อการจัดการเรียนรู้และการวัดผลที่สอดคล้อง กับจุดประสงค์การจัดการเรียนรู้ (วิมลรัตน์

สุนทรโรจน์, 2554: 113-116) จากนั้นผ่าน กระบวนการกลั่นกรองและตรวจสอบแก้ไข ตามข้อเสนอแนะของคณะกรรมการควบคุม วิทยานิพนธ์ตลอดจนการตรวจสอบและประเมิน คุณภาพด้านความถูกต้องความเหมาะสมความ สอดคล้องและความครอบคลุมของแต่ละองค์

ประกอบกระบวนการจัดการเรียนรู้ สื่อการเรียน รู้แหล่งเรียนรู้และการวัดผลประเมินผลโดยคณะ ผู้เชี่ยวชาญซึ่งผลการประเมินโดยสรุปอยู่ในระดับ

“เหมาะสมมาก-มากที่สุด” นอกจากนี้ยังผ่าน กระบวนการทดลองใช้กับนักเรียนที่ไม่ใช่กลุ่ม ทดลองเพื่อประเมินความเหมาะสมด้านเวลา การ จัดการเรียนรู้แล้วนำาข้อบกพร่องมาปรับปรุงแก้ไข ให้เหมาะสมยิ่งขึ้นก่อนนำาไปใช้ทดลองใช้จริงกับ ตาราง 4 ผลการวิเคราะห์เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนการคิดแก้ปัญหาทางวิทยาศาสตร์และ เจตคติต่อวิทยาศาสตร์ของนักเรียนที่ได้รับการจัดการจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐานและ การจัดการเรียนรู้แบบคิดแก้ปัญหา

Multivariate Tests

Effect Value F Hypothesis df Error df p Partial Eta Squared

Hotelling’s Trace .065 1.306 3.000 60.000 .281 .061

Garis besar

Dokumen terkait