• Tidak ada hasil yang ditemukan

ประชากรในการวิจัยครั้งนี้ ได้แก่ ผู้อำานวย การโรงเรียนสังกัดสำานักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษาเชียงราย เขต 2 จำานวน 5 อำาเภอ คือ ป่าแดด พาน เวียงป่าเป้า แม่ลาว และแม่สรวย รวม 185 คน

เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย

เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ เป็น แบบสอบถามที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น จำานวน 1 ฉบับ แบ่ง ออกเป็น 3 ตอน ดังนี้ ตอนที่ 1 ข้อมูลทั่วไปของผู้

ตอบแบบสอบถาม ชนิดตรวจสอบรายการ (check list) จำานวน 6 ข้อ ตอนที่ 2 สอบถามสมรรถนะ การบริหารงานวิชาการของผู้บริหารโรงเรียน สังกัดสำานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา เชียงราย เขต 2 ตามมาตรฐานวิชาชีพของคุรุสภา ชนิดมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ จำานวน 50 ข้อ ประกอบด้วย 4 ด้าน คือ 1) ด้านบริหารจัดการ เรียนรู้ 2) ด้านพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา 3) ด้าน นิเทศการจัดการเรียนรู้ในสถานศึกษา 4) ด้านส่ง เสริมให้มีการวิจัยเพื่อพัฒนาคุณภาพการจัดการ เรียนรู้ ตอนที่ 3 ถามความคิดเห็นเกี่ยวกับข้อ เสนอแนะแนวทางการพัฒนาสมรรถนะการบริหาร งานวิชาการของผู้บริหารโรงเรียนสังกัดสำานักงาน เขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงราย เขต 2

ตามมาตรฐานวิชาชีพของคุรุสภา ข้อคำาถามใน แบบสอบถามมีค่าดัชนีความสอดคล้องระหว่าง ข้อคำาถามกับวัตถุประสงค์ (Item Objective Congruence Index: IOC) ตั้งแต่ 0.60 - 1.00 ค่า ดัชนีความสอดคล้องเท่ากับ 0.92 นำาไปทดลองใช้

กับผู้บริหารโรงเรียนสังกัดสำานักงานเขตพื้นที่การ ศึกษาประถมศึกษาเชียงราย เขต 1 จำานวน 30 ราย มีค่าความเชื่อมั่นของแบบสอบถามทั้งฉบับ เท่ากับ 0.98

วิธีดำาเนินการวิจัย

1. ขอความอนุเคราะห์จากบัณฑิต วิทยาลัย วิทยาลัยเชียงรายในการทำาหนังสือและ แนะนำาตัวผู้วิจัย ถึงผู้อำานวยการสำานักงานเขต พื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงราย เขต 2 เพื่อ ขอความอนุเคราะห์ผู้อำานวยการโรงเรียน ที่เป็น ประชากรในการตอบแบบสอบถามโดยผู้วิจัยส่ง แบบสอบถามด้วยตนเอง จำานวน 185 ฉบับ พร้อม ได้กำาหนดวันรับแบบสอบถามกลับคืน

2. เก็บรวบรวมแบบสอบถามที่สำานักงาน เขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงราย เขต 2 ด้วยตนเอง กรณีที่ไม่ได้รับแบบสอบถามกลับคืน ภายในเวลาที่กำาหนด ผู้วิจัยติดตามด้วยตนเอง

3. รวมรวบแบบสอบถามที่ได้รับคืน ทั้งหมด จำานวน 185 ฉบับ ตรวจสอบความ สมบูรณ์ของข้อมูล แบบสอบถามมีความสมบูรณ์

185 ฉบับ คิดเป็นร้อยละ 100

การวิเคราะห์ข้อมูล

1. วิเคราะห์สถานภาพของผู้ตอบ แบบสอบถาม โดยการหาค่าความถี่ (Frequency) และค่าร้อยละ (Percentage)

2. วิเคราะห์สมรรถนะการบริหารงาน วิชาการของผู้บริหารโรงเรียนสังกัดสำานักงานเขต พื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงราย เขต 2 ตาม มาตรฐานวิชาชีพของคุรุสภาโดยการวิเคราะห์หา

ค่าเฉลี่ย (µ) และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (σ) ตามเกณฑ์มาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับของ บุญชม ศรีสะอาด

3. เปรียบเทียบสมรรถนะการบริหาร งานวิชาการของผู้บริหารโรงเรียนสังกัดสำานักงาน เขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงราย เขต 2 ตามมาตรฐานวิชาชีพของ คุรุสภา จำาแนกตาม ประสบการณ์ในการบริหารและขนาดโรงเรียน โดย วิเคราะห์จากค่าเฉลี่ย

ผลการวิจัย

1. ข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถาม พบว่าผู้ตอบเป็นเพศชายมากที่สุด 168 คน (ร้อย ละ 90.81) มีอายุ 51 ปีขึ้นไปมากที่สุด 109 คน (ร้อยละ 58.92) อายุราชการมากกว่า 30 ปี มาก ที่สุด 80 คน (ร้อยละ 43.24) มีประสบการณ์

ในตำาแหน่งมากกว่า 10 ปีมากที่สุด 111 คน

(ร้อยละ 60) มีวุฒิการศึกษาระดับปริญญาโท มากที่สุด 154 คน (ร้อยละ 83.24) และปฏิบัติงาน ในโรงเรียนขนาดเล็กมากที่สุด 157 คน (ร้อยละ 84.86)

2. สมรรถนะการบริหารงานวิชาการของ ผู้บริหารโรงเรียนสังกัดสำานักงานเขตพื้นที่การ ศึกษาประถมศึกษาเชียงราย เขต 2 ตามมาตรฐาน วิชาชีพของคุรุสภา ผลการศึกษาพบว่าสมรรถนะ การบริหารงานวิชาการของผู้บริหารโรงเรียนโดย รวมอยู่ในระดับมาก (µ=4.10, σ=0.45) และเมื่อ พิจารณาเป็นรายด้าน พบว่าอยู่ในระดับมากเช่น กัน ด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด คือ ด้านบริหารจัดการ เรียนรู้ (µ=4.15, σ=0.51) รองลงมา คือ ด้านการ นิเทศการจัดการเรียนรู้ในสถานศึกษา (µ=4.10, σ=0.48) ส่วนด้านที่มีค่าเฉลี่ยต่ำาสุด คือ ด้านการ พัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา (µ=4.06, σ=0.51) ดังตาราง 1

ตาราง 1 ค่าเฉลี่ย (µ) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (σ) และระดับสมรรถนะการบริหารงาน วิชาการของ ผู้บริหารโรงเรียน สังกัดสำานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงราย เขต 2 ตาม มาตรฐานวิชาชีพของคุรุสภา จำาแนกรายด้าน (n=185)

สมรรถนะ µ σ ระดับ

ด้านบริหารจัดการการเรียนรู้ 4.15 0.43 มาก

ด้านการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา 4.06 0.51 มาก

ด้านการนิเทศการจัดการเรียนรู้ในสถานศึกษา 4.10 0.48 มาก ด้านการส่งเสริมให้มีการวิจัยเพื่อพัฒนาคุณภาพ การจัดการเรียนรู้ 4.08 0.52 มาก

รวม 4.10 0.45 มาก

3. การเปรียบเทียบสมรรถนะการบริหาร งานวิชาการของผู้บริหารโรงเรียนสังกัดสำานักงาน เขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงราย เขต 2 ตามมาตรฐานวิชาชีพของ คุรุสภา จำาแนกตาม ประสบการณ์ในการบริหาร ผลการศึกษาพบว่า โดยภาพรวมและรายด้านมีค่าเฉลี่ยแตกต่างกัน

โดยผู้บริหารที่มีประสบการณ์ในการบริหาร มากกว่า 10 ปีขึ้นไป มีสมรรถนะมากกว่า ผู้บริหาร ที่มีประสบการณ์ในการบริหาร 5 - 10 ปี และ ผู้บริหารที่มีประสบการณ์ในการบริหารน้อยกว่า 5 ปี ดังตาราง 2

ตาราง 2 ผลการเปรียบเทียบสมรรถนะการบริหารงานวิชาการของผู้บริหารโรงเรียนสังกัด สำานักงาน เขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงราย เขต 2 ตามมาตรฐานวิชาชีพของคุรุสภา จำาแนก ตามประสบการณ์ในการบริหาร

ประสบการณ์ในการบริหาร

สมรรถนะ น้อยกว่า 5 ปี 5 - 10 ปี 10 ปีขึ้นไป

(n=47) (n=27) (n=111)

µ σ µ σ µ σ

ด้านบริหารจัดการการเรียนรู้ 3.83 0.38 4.18 0.39 4.29 0.40 ด้านการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา 3.70 0.48 4.10 0.46 4.21 0.46 ด้านการนิเทศการจัดการเรียนรู้ในสถานศึกษา 3.76 0.39 4.14 0.44 4.24 0.45 ด้านการส่งเสริมให้มีการวิจัยเพื่อพัฒนา

คุณภาพการจัดการจัดการเรียนรู้ 3.80 0.45 4.11 0.45 4.20 0.52

รวม 3.77 0.37 4.14 0.40 4.24 0.42

4. การเปรียบเทียบสมรรถนะการบริหาร งานวิชาการของผู้บริหารโรงเรียนสังกัดสำานักงาน เขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงราย เขต 2 ตามมาตรฐานวิชาชีพของ คุรุสภา จำาแนกตาม ขนาดของโรงเรียน ผลการศึกษาพบว่า โดยภาพ รวมและรายด้าน มีค่าเฉลี่ยแตกต่างกัน โดย

ผู้บริหารโรงเรียนขนาดใหญ่ มีสมรรถนะมากกว่า ผู้บริหารโรงเรียนขนาดกลางและผู้บริหารโรงเรียน ขนาดเล็กตามลำาดับ ยกเว้น ด้านบริหารจัดการ เรียนรู้ ซึ่งผู้บริหารโรงเรียนขนาดกลาง มีสมรรถนะ มากกว่าผู้บริหารโรงเรียนขนาดใหญ่และผู้บริหาร โรงเรียนขนาดเล็ก ดังตาราง 3

อภิปรายผล

1. สมรรถนะการบริหารงานวิชาการของ ผู้บริหารโรงเรียนสังกัดสำานักงานเขตพื้นที่การ ศึกษาประถมศึกษาเชียงราย เขต 2 ตามมาตรฐาน วิชาชีพของคุรุสภา โดยภาพรวมพบว่าสมรรถนะ การบริหารงานวิชาการของผู้บริหารโรงเรียนอยู่ใน ระดับมาก (µ=4.10, σ=0.45) และเมื่อพิจารณา เป็นรายด้าน พบว่า ทุกด้านอยู่ในเกณฑ์ระดับ มาก ด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด คือ สมรรถนะการ บริหารงานวิชาการด้านบริหารจัดการการเรียนรู้

(µ=4.15, σ=0.43) รองลงมาคือ สมรรถนะ การบริหารงานวิชาการด้านการนิเทศการจัดการ เรียนรู้ ในสถานศึกษา (µ=4.10, σ=0.48) ส่วน ด้านที่มีค่าเฉลี่ยต่ำาสุดคือ สมรรถนะการบริหาร งานวิชาการด้านการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา (µ=4.06, σ=0.51) ทั้งนี้อาจเป็นเพราะ ผู้บริหาร โรงเรียนส่วนใหญ่เป็นผู้ที่มีความสามารถในการ บริหารจัดการและนำาพาโรงเรียนให้เจริญก้าวหน้า

ทันตามความเจริญทางด้านเศรษฐกิจและสังคม ที่เติบโต อย่างรวดเร็ว ทำาให้ต้องมีความเป็นผู้นำา ในการปฏิบัติภารกิจที่จะนำาโรงเรียนเข้าสู่เกณฑ์

มาตรฐานการศึกษาที่เป็นเป้าหมายสูงสุดของ โรงเรียนและพัฒนาโรงเรียนให้มีคุณภาพ ที่เชื่อถือ ได้ ซึ่งสอดคล้องกับงานวิจัยของเพียรพันธุ์

กิจพาณิชย์เจริญ (2552: 129) ได้ศึกษาสมรรถนะ การบริหารงานวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำานักงานเขตหนองแขม พบว่า สมรรถนะ การบริหารงานวิชาการด้านการบริหารจัดการการ เรียนรู้ของผู้บริหารสถานศึกษาสังกัดสำานักงาน เขตหนองแขมมีค่าเฉลี่ยสูงสุด และสอดคล้อง กับงานวิจัยของรุ่งทิวา หนูเผือก (2555: 92) ได้ศึกษาสมรรถนะการบริหารงานวิชาการของ ผู้บริหารสถานศึกษาโรงเรียนกีฬาในประเทศไทย พบว่า สมรรถนะการบริหารงานวิชาการด้านการ บริหารจัดการการเรียนรู้ของผู้บริหารสถานศึกษา โรงเรียนกีฬาในประเทศไทย มีค่าเฉลี่ยสูงสุด และสอดคล้องกับงานวิจัยของนันทพร ศุภะพันธุ์

ตาราง 3 ผลการเปรียบเทียบสมรรถนะการบริหารงานวิชาการของผู้บริหารโรงเรียนสังกัดสำานักงาน เขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงราย เขต 2 ตามมาตรฐานวิชาชีพของคุรุสภา จำาแนก ตามขนาดของโรงเรียน

ขนาดของโรงเรียน

สมรรถนะ ขนาดเล็ก ขนาดกลาง ขนาดใหญ่

(n=157) (n=18) (n=10)

µ σ µ σ µ σ

ด้านบริหารจัดการการเรียนรู้ 4.04 0.38 4.77 0.10 4.75 0.13 ด้านการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา 3.91 0.39 4.89 0.11 5.00 0.00 ด้านการนิเทศการจัดการเรียนรู้ ในสถานศึกษา 3.96 0.37 4.81 0.14 5.00 0.00 ด้านการส่งเสริมให้มีการวิจัยเพื่อพัฒนา

คุณภาพการจัดการจัดการเรียนรู้ 3.93 0.41 4.87 0.18 5.00 0.00

รวม 3.97 0.34 4.82 0.03 4.92 0.04

(2551: 122) ได้ศึกษาสมรรถนะการบริหาร ด้านวิชาการของผู้บริหารโรงเรียนเอกชนระดับ ประถมศึกษา สังกัดสำานักงานเขตพื้นที่การศึกษา กรุงเทพมหานคร เขต 2 พบว่า สมรรถนะการ บริหารงานวิชาการด้านการนิเทศการจัดการเรียน รู้ในสถานศึกษาของผู้บริหาร มีค่าเฉลี่ยสูงสุด และ รองลงมาคือ สมรรถนะการบริหารงานวิชาการ ด้านการบริหารจัดการเรียนรู้ ทั้งนี้เพราะการนิเทศ ที่เป็นระบบ ครูได้รับคำาแนะนำาจากผู้นิเทศจะทำาให้

ครูมีกำาลังใจ มีการปรับปรุงพัฒนาการจัดการเรียน การสอน

2. สมรรถนะการบริหารงานวิชาการของ ผู้บริหารโรงเรียนสังกัดสำานักงานเขตพื้นที่การ ศึกษาประถมศึกษาเชียงราย เขต 2 ตามมาตรฐาน วิชาชีพของคุรุสภา จำาแนกตามประสบการณ์ใน การบริหาร พบว่าทั้งในภาพรวมและรายด้านมี

ความแตกต่างกัน ที่เป็นเช่นนี้อาจเนื่องมาจาก ผู้บริหารมีเทคนิคในการบริหารที่มีประสิทธิภาพ และประสบการณ์ในการบริหารจะช่วยสอน ให้ผู้บริหารแต่ละคนรู้ว่าอุปสรรคปัญหา หรือ สถานการณ์ต่างๆที่กำาลังเผชิญอยู่ควรใช้เทคนิค วิธีการในการบริหารอย่างไร ซึ่งสอดคล้องกับ งานวิจัยของขุนวัง ณุวงศ์ศรี (2551: 111) ที่

ศึกษาสมรรถนะของผู้บริหารสถานศึกษาขั้นพื้น ฐานสังกัดสำานักงานเขตพื้นที่การศึกษาสุรินทร์

เขต 2 พบว่า สมรรถนะของผู้บริหารสถานศึกษา โดยรวมแตกต่างกัน โดยผู้บริหารสถานศึกษา ที่มีประสบการณ์น้อยกว่า 5 ปี แตกต่างกันกับ ผู้บริหารสถานศึกษาที่มีประสบการณ์ 5-10 ปี

และผู้บริหารสถานศึกษาที่มีประสบการณ์มากกว่า 10 ปี และสอดคล้องกับงานวิจัยของ บูชา ศรีสร้อย (2551: 117) ได้ศึกษาสภาพการบริหารงาน วิชาการของโรงเรียนในสังกัดสำานักงานเขตพื้นที่

การศึกษาสกลนคร เขต 3 พบว่า ผู้บริหารโรงเรียน ที่มีประสบการณ์ต่างกัน มีความคิดเห็นในการ

บริหารงานวิชาการโดยรวมแตกต่างกัน

3. สมรรถนะการบริหารงานวิชาการ ของผู้บริหารโรงเรียนสังกัดสำานักงานเขตพื้นที่

การศึกษาประถมศึกษาเชียงราย เขต 2 ตาม มาตรฐานวิชาชีพของคุรุสภา จำาแนกตามขนาด ของโรงเรียน พบว่าทั้งในภาพรวมและรายด้าน ผู้บริหารที่อยู่ในโรงเรียนที่มีขนาดของโรงเรียน แตกต่างกัน มีสมรรถนะการบริหารงานวิชาการ ของผู้บริหารโรงเรียนทุกด้านมีความแตกต่างกัน เนื่องจากโรงเรียนขนาดใหญ่มีความพร้อมในด้าน งบประมาณ บุคลากร การบริหารจัดการมากกว่า โรงเรียนขนาดกลางและขนาดเล็ก ซึ่งสอดคล้อง กับงานวิจัยของ เพียรพันธุ์ กิจพาณิชย์เจริญ (2552: 129) ได้ศึกษาสมรรถนะการบริหารงาน วิชาการของผู้บริหารสถานศึกษาสังกัดสำานักงาน เขตหนองแขม กรุงเทพมหานคร พบว่า สมรรถนะ การบริหารงานวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษา ที่อยู่ในโรงเรียนที่มีขนาดของโรงเรียนแตกต่างกัน มีสมรรถนะการบริหารงานวิชาการของผู้บริหาร โรงเรียนทุกด้านมีความแตกต่างกัน สอดคล้องกับ งานวิจัยของพนัส ด้วงเอก (2554: 68 - 83) ได้

ศึกษาการบริหารงานวิชาการของผู้บริหารสถาน ศึกษาสังกัดสำานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถม ศึกษาบุรีรัมย์ เขต 1 พบว่าครูที่ปฏิบัติงานใน สถานศึกษาเล็ก มีความคิดเห็นแตกต่างจากครู

ที่ปฏิบัติงานในสถานศึกษาขนาดใหญ่และขนาด กลาง อาจเป็นเพราะว่าโรงเรียนขนาดเล็กมีงบ ประมาณน้อยและมีบุคลากรน้อย ทำาให้การบริหาร งานของผู้บริหารไม่สะดวกคล่องตัว และสอดคล้อง กับงานวิจัยของระเบียบ เชี่ยวชาญ (2550: 102) ได้ศึกษาสมรรถนะการบริหารด้านวิชาการระดับ ปฐมวัยของผู้บริหารสถานศึกษาในโรงเรียน ประถมศึกษา สังกัดกรุงเทพมหานคร สำานักงาน เขตภาษีเจริญ พบว่า ครูปฐมวัยที่ปฏิบัติงานใน โรงเรียนขนาดต่างกันมีความคิดเห็นต่อสมรรถนะ

Garis besar

Dokumen terkait