• Tidak ada hasil yang ditemukan

ทดสอบความคงทนในการเรียนรู้

Models Utilizing of Occupational and Technological Learning Substance in Grade 3

5. เพื่อศึกษาความคงทนในการเรียนรู้

3.3 ทดสอบความคงทนในการเรียนรู้

หลังจากระยะเวลาผ่านไปแล้ว 2 สัปดาห์ด้วยแบบ ทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนชุดเดียวกันกับ การทดสอบหลังเรียน

3.4 นำาข้อมูลที่ได้จากการทดลองกับ นักเรียนทั้งสองกลุ่ม ไปทำาการตรวจวิเคราะห์ทาง สถิติ เพื่อสรุปผลการทดลองตามความมุ่งหมาย การวิจัยต่อไป

การวิเคราะห์ข้อมูล

ตอนที่ 1 ผลการวิเคราะห์หาประสิทธิภาพ ของบทเรียนบนเว็บตามเกณฑ์ 80/80 โดยใช้สูตร E1/E2 และหาค่าดัชนีประสิทธิผล โดยใช้สถิติพื้น ฐานได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน

ตอนที่ 2 เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียน ระหว่างก่อนเรียนและหลังเรียน ของนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ที่เรียนด้วยบทเรียนบนเว็บ ที่

มีรูปแบบการนำาเสนอเนื้อหาต่างกันโดยใช้สถิติพื้น ฐานได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และ t-test (Dependent Samples)

ตอนที่ 3 เปรียบเทียบความคิดสร้างสรรค์

ระหว่างก่อนเรียนและหลังเรียนของนักเรียนที่

เรียนด้วยบทเรียนบนเว็บ ที่มีรูปแบบการนำาเสนอ เนื้อหาต่างกันโดยใช้สถิติพื้นฐาน ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และ t-test (Dependent Samples)

ตอนที่ 4 เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนและความคิดสร้างสรรค์ ระหว่างของนักเรียน ที่เรียนด้วยบทเรียนบนเว็บ ที่มีรูปแบบการนำาเสนอ เนื้อหาต่างกัน โดยใช้ สถิติพื้นฐานได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และ ทดสอบ สมมุติฐานโดยใช้ Hotelling-T2

ตอนที่ 5 ศึกษาความคงทนในการเรียนรู้

ระหว่างนักเรียนที่เรียนด้วยบทเรียนบนเว็บ ที่มี

รูปแบบการนำาเสนอเนื้อหาต่างกัน โดยใช้สถิติพื้น ฐานได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ตอนที่ 6 ศึกษาพฤติกรรมการเรียน ของ ผู้เรียนต่อการเรียนด้วยบทเรียนบนเว็บโดยใช้

สถิติพื้นฐานได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบน มาตรฐาน

ผลการวิจัย

1. ประสิทธิภาพของบทเรียนบนเว็บเรื่อง การใช้โปรแกรมนำาเสนอข้อมูล Microsoft Office PowerPoint 2007 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ที่มีรูป แบบการนำาเสนอเนื้อหาแบบลำาดับขั้นและแบบ ใยแมงมุม มีประสิทธิภาพเท่ากับ 82.00/86.83 และ 83.72/84.67 ตามลำาดับ ซึ่งมีประสิทธิภาพ สูงกว่าเกณฑ์ที่กำาหนดไว้และค่าดัชนีประสิทธิผล เท่ากับ 0.7915 หรือคิดเป็นร้อยละ 79.15 และ 0.7382 หรือคิดเป็นร้อยละ 73.82 ตามลำาดับ ดังตาราง 1 - 2

ตาราง 1 ประสิทธิภาพของบทเรียนบนเว็บ ที่มีรูปแบบการนำาเสนอเนื้อหาแบบลำาดับขั้นและแบบ ใยแมงมุม

กลุ่มทดลอง N E1 (60 คะแนน) E2 (40 คะแนน)

รวม S.D. ร้อยละ รวม S.D. ร้อยละ ลำาดับขั้น 30 1476 49.20 7.01 82.00 1042 34.73 3.40 86.83 ใยแมงมุม 30 1507 50.23 5.13 83.72 1016 33.87 2.42 84.67 ตาราง 2 ค่าดัชนีประสิทธิผลของบทเรียนบนเว็บที่มีรูปแบบการนำาเสนอเนื้อหาแบบลำาดับขั้นและแบบ

ใยแมงมุม

กลุ่มทดลอง N คะแนน (40) ร้อยละ ดัชนีประสิทธิผล E.I.

ก่อนเรียน หลังเรียน ก่อนเรียน หลังเรียน

ลำาดับขั้น 30 442 1042 36.83 86.83 0.7915

ใยแมงมุม 30 497 1016 41.42 84.67 0.7382

2. นักเรียนที่เรียนด้วยบทเรียนบนเว็บ ที่มีรูปแบบการนำาเสนอเนื้อหาแบบลำาดับขั้นและ แบบใยแมงมุม มีคะแนนเฉลี่ยจากการทำาแบบ

ทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน อย่างมีนัยความสำาคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ทั้ง สองกลุ่มดังตาราง 3

ตาราง 3 ผลการเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ก่อนเรียนและหลังเรียนของนักเรียนที่เรียนด้วย บทเรียนบนเว็บ ที่มีรูปแบบการนำาเสนอเนื้อหาแบบลำาดับขั้นและแบบใยแมงมุม

กลุ่มทดลอง การทดสอบ N S.D. df t P

ลำาดับขั้น ก่อนเรียน 30 49.20 7.01 29 15.484* .000

หลังเรียน 30 34.73 3.40

ใยแมงมุม ก่อนเรียน 30 50.23 5.13 29 13.530* .000

หลังเรียน 30 33.87 2.42

* p< .05 ทั้งสองกลุ่ม

3. นักเรียนที่เรียนด้วยบทเรียนบนเว็บ ที่มีรูปแบบการนำาเสนอเนื้อหาแบบลำาดับขั้นและ แบบใยแมงมุม มีคะแนนเฉลี่ยจากการทำาแบบ

ทดสอบความคิดสร้างสรรค์หลังเรียนสูงกว่าก่อน เรียน อย่างมีนัยความสำาคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ทั้งสองกลุ่มดังตาราง 4

ตาราง 4 ผลการเปรียบเทียบคะแนนความคิดสร้างสรรค์ก่อนเรียนและหลังเรียนของนักเรียนที่เรียน ด้วยบทเรียนบนเว็บ ที่มีรูปแบบการนำาเสนอเนื้อหาแบบลำาดับขั้นและแบบใยแมงมุม

กลุ่มทดลอง การทดสอบ N S.D. df t P

ลำาดับขั้น ก่อนเรียน 30 30.50 2.21 29 29.032* .000 หลังเรียน 30 53.33 4.30

ใยแมงมุม ก่อนเรียน 30 32.90 2.55 29 24.429* .000 หลังเรียน 30 54.97 4.40

* p< .05 ทั้งสองกลุ่ม

4. นักเรียนที่เรียนด้วยบทเรียนบนเว็บที่มี

รูปแบบการนำาเสนอเนื้อหาแบบลำาดับขั้นและแบบ ใยแมงมุมมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและคะแนน

ความคิดสร้างสรรค์ หลังจากเรียนด้วยบทเรียนบน เว็บไม่แตกต่างกันดังตาราง 5

ตาราง 5 การทดสอบความแตกต่างผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและความคิดสร้างสรรค์ของนักเรียนที่

เรียนด้วยบทเรียนบนเว็บที่มีรูปแบบการนำาเสนอเนื้อหาแบบลำาดับขั้นและแบบใยแมงมุม

สถิติทดสอบ Value Hypothesis df Error df F Sig.

Hotelling’s T2 .064 2.000 57.000 1.811 .173

5. นักเรียนที่เรียนด้วยบทเรียนบนเว็บ ที่มีรูปแบบการนำาเสนอเนื้อหาแบบลำาดับขั้นและ แบบใยแมงมุมมีความคงทนในการเรียนรู้ เท่ากับ ร้อยละ 73.08 และ 74.42 มีคะแนนเฉลี่ยลดลง

5.50 และ 4.10 คะแนน แสดงว่ามีการสูญเสีย ความจำา คิดเป็นร้อยละ 15.84 และ 12.22 ของ ค่าเฉลี่ยคะแนนหลังเรียน ตามลำาดับ ดังตาราง 6 ตาราง 6 การศึกษาความคงทนในการเรียนรู้ ของนักเรียนที่เรียนด้วยบทเรียนบนเว็บที่มีรูปแบบการนำา

เสนอเนื้อหาแตกต่างกันหลังทดลอง 2 สัปดาห์

กลุ่มทดลอง คะแนน คะแนนหลังเรียน คะแนนเฉลี่ย การสูญเสีย หลังเรียน 2 สัปดาห์ ลดลง ( ) ความจำา (%)

ร้อยละ ร้อยละ

แบบลำาดับขั้น 34.73 86.83 29.23 73.08 5.50 15.84

แบบใยแมงมุม 33.87 84.67 29.77 74.42 4.14 12.22

6.นักเรียนที่เรียนด้วยบทเรียนบนเว็บที่มี

รูปแบบการนำาเสนอเนื้อหาแบบลำาดับขั้นและแบบ ใยแมงมุม มีพฤติกรรมทางการเรียน เฉลี่ยเท่ากับ 3.60 ที่พฤติกรรมระดับ สูง และเฉลี่ยเท่ากับ

3.50 ที่พฤติกรรมระดับ สูง ตามลำาดับ แสดงว่า นักเรียนทั้งสองกลุ่มทดลองมีพฤติกรรมทางการ เรียน ที่ระดับสูง หลังจากได้เรียนด้วยบทเรียนบน เว็บดังตาราง 7

ตาราง 7 ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน พฤติกรรมการเรียนของนักเรียนที่เรียนด้วยบทเรียน บนเว็บที่มีรูปแบบการนำาเสนอเนื้อหาแตกต่างกัน

จำานวนข้อ กลุ่มทดลองที่ 1 กลุ่มทดลองที่ 2

N S.D. พฤติกรรม N S.D. พฤติกรรม

50 30 3.60 0.29 สูง 30 3.50 0.26 สูง

อภิปรายผล

1. ประสิทธิภาพของบทเรียนบนเว็บเรื่อง การใช้โปรแกรมนำาเสนอข้อมูล Microsoft Office PowerPoint 2007 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ที่มีรูป แบบการนำาเสนอเนื้อหาแบบลำาดับขั้นและแบบใย แมงมุม มีประสิทธิภาพเท่ากับ 82.00/86.83 และ 83.72/84.67 ตามลำาดับ ซึ่งมีประสิทธิภาพสูง กว่าเกณฑ์ที่กำาหนดไว้ที่เป็นเช่นนี้เพราะการพัฒนา บทเรียนบนเว็บ ได้ทำาอย่างเป็นขั้นตอนตั้งแต่

การวิเคราะห์เนื้อหาการสร้างแบบวัดผลสัมฤทธิ์

ทางการเรียนการออกแบบบทเรียนบนเว็บ การ เรียนการสอนบนเครือข่ายโดยมีผู้เชี่ยวชาญด้าน ต่างๆตรวจสอบทุกขั้นตอนและได้ปรับปรุงแก้ไข ตามข้อเสนอแนะทำาให้ผู้เรียนสามารถเรียนรู้ด้วย ตนเองโดยไม่จำากัดเวลาและสถานที่สามารถเรียนรู้

ได้ตามความต้องการและความสามารถของแต่ละ บุคคลผู้เรียนสามารถศึกษาทบทวนแลกเปลี่ยน ความรู้ทดสอบตัวเองและทราบความก้าวหน้า ทางการเรียนของตนเป็นระยะๆสอดคล้องกับผล วิจัยของ รตนกร เขตสกุล (2551: 98-99) พบ ว่า บทเรียนบนเครือข่ายที่มีรูปแบบการนำาเสนอ เนื้อหาแบบเรียงลำาดับและการนำาเสนอเนื้อหา

แบบใยแมงมุมเรื่อง การใช้โปรแกรม Microsoft Excel ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 มีประสิทธิภาพ 86.04/83.92 และ 86.22/84.44 ตามลำาดับ และค่าดัชนีประสิทธิผลของบทเรียนบนเว็บเรื่อง การใช้โปรแกรมนำาเสนอข้อมูล Microsoft Office PowerPoint 2007 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ที่มีรูป แบบการนำาเสนอเนื้อหาแบบลำาดับขั้นและแบบใย แมงมุมเท่ากับ 0.7915 หรือคิดเป็นร้อยละ 79.15 และ 0.7382 หรือคิดเป็นร้อยละ 73.82 ตาม ลำาดับแสดงว่า บทเรียนบนเว็บที่สร้างขึ้น สามารถ ส่งผลต่อการเรียนรู้ของผู้เรียนได้ดีขึ้น ทั้งนี้อาจ เนื่องมาจาก บทเรียนบนเว็บทั้งสองแบบมีลักษณะ เฉพาะ คือการเชื่อมโยง (Link) ของเนื้อหาในบท เรียนมีการนำาเสนอเนื้อหาที่ผู้เรียนสามารถควบคุม การเรียนรู้ได้ด้วยตนเองสามารถศึกษาทบทวนและ ทำาแบบฝึกหัดได้ตามความต้องการ สอดคล้องกับ งานวิจัยของมารินทร์ คำาญา (2553: 101-106) พบว่า ผลการเรียนรู้เรื่องคำาภาษาต่างประเทศ ที่ใช้ในภาษาไทยโดยใช้โปรแกรมบทเรียนและ e-learning ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 มี

ค่าค่าดัชนีประสิทธิผลโปรแกรมบทเรียนเท่ากับ 0.7128 และบทเรียน e-learning เท่ากับ 0.6743

2. นักเรียนที่เรียนด้วยบทเรียนบนเว็บที่มี

รูปแบบการนำาเสนอเนื้อหาแบบลำาดับขั้นและแบบ ใยแมงมุม มีคะแนนเฉลี่ยจากการทำาแบบทดสอบ วัดผลสัมฤทธิ์หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน อย่างมี

นัยความสำาคัญทางสถิติ ที่ระดับ .05 ทั้งสองกลุ่ม สอดคล้องกับงานวิจัยของ ขนิษฐา พจนานุกูลกิจ และคณะ (2550: 85-86) พบว่า นักเรียนมีผล สัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน อย่างมีนัยสำาคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ทั้งนี้อธิบาย ได้ว่าเป็นเพราะบทเรียนบนเว็บที่ใช้ในการวิจัยครั้ง นี้ใช้วัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนเรียน และ หลังเรียน เพื่อใช้ในระดับความรู้ความจำาความ เข้าใจและการนำาไปใช้ซึ่งถือว่าอยู่ในระดับเบื้องต้น เนื้อหาที่ใช้ในการเรียนการสอนเป็นเนื้อหา พื้นฐานในเรื่องทั่วๆไปซึ่งไม่มีความซับซ้อนเท่าที่

ควรจึงทำาให้นักเรียนสามารถเรียนรู้ด้วยตนเองได้ดี

3. นักเรียนที่เรียนด้วยบทเรียนบนเว็บ ที่มีรูปแบบการนำาเสนอเนื้อหาแบบลำาดับขั้นและ แบบใยแมงมุม มีคะแนนเฉลี่ยจากการทำาแบบ ทดสอบความคิดสร้างสรรค์หลังเรียนสูงกว่าก่อน เรียน อย่างมีนัยความสำาคัญทางสถิติ ที่ระดับ .05 ทั้งสองกลุ่ม สอดคล้องกับงานวิจัยของ หทัยทิพย์

ชมพูพื้น (2551: 81-84) พบว่า นักเรียนที่เรียน โดยรูปแบบการสอนแบบมุ่งประสบการณ์ภาษากับ รูปแบบการสอนแบบพาโนรามามีความสามารถ ในการคิดสร้างสรรค์และการเขียนเชิงสร้างสรรค์

หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำาคัญทาง สถิติที่ระดับ .01 ทั้งนี้เนื่องจากแบบวัดความคิด สร้างสรรค์ สามารถส่งเสริมการเรียนรู้และวิธีคิดใน รูปแบบต่างๆ ช่วยส่งเสริมความคิดที่หลากหลาย แง่มุมและมีความน่าสนใจและกระตุ้นความใส่ใจ ในการคิดของเด็ก ที่แปลกใหม่เพิ่มมากขึ้น

4. นักเรียนที่เรียนด้วยบทเรียนบนเว็บที่มี

รูปแบบการนำาเสนอเนื้อหาแบบลำาดับขั้นและแบบ ใยแมงมุมมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและคะแนน

ความคิดสร้างสรรค์ หลังจากเรียนด้วยบทเรียนบน เว็บไม่แตกต่างกัน โดยวิธีการทางสถิติการทดสอบ Hotelling’s T2 ซึ่งสอดคล้องกับงานวิจัยของธนดล ภูสีฤทธิ์ (2550: 119-121) พบว่า นิสิตที่เรียน ด้วยบทเรียนบนระบบเครือข่ายเป็นรายบุคคลกับ เรียนเป็นคู่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและความคิด สร้างสรรค์ด้านความคิดริเริ่มด้านความคิดคล่อง ตัวด้านความคิดยืดหยุ่นและด้านความคิดละเอียด ลออไม่แตกต่างกัน

5. นักเรียนที่เรียนด้วยบทเรียนบนเว็บ ที่มีรูปแบบการนำาเสนอเนื้อหาแบบลำาดับขั้นและ แบบใยแมงมุมมีความคงทนในการเรียนรู้ เท่ากับ ร้อยละ 73.08 และ 74.42 มีคะแนนเฉลี่ยลดลง 5.50 และ 4.10 คะแนน แสดงว่ามีการสูญเสีย ความจำา คิดเป็นร้อยละ 15.84 และ 12.22 ของ ค่าเฉลี่ยคะแนนหลังเรียน ตามลำาดับซึ่งสอดคล้อง กับงานวิจัยของ สุพจน์ ขุนชาญชาติ (2551: 113- 122) พบว่า นักเรียนที่เรียนด้วยโปรแกรมบทเรียน เรื่อง โน้ตดนตรีสากลเบื้องต้นชั้นมัธยมศึกษาปีที่

1 มีคะแนนเฉลี่ยคิดเป็นร้อยละ 93.06 คิดเป็น ร้อยละ 6.94 ของค่าเฉลี่ยคะแนนหลังเรียนและ นักเรียนที่เรียนปกติเรื่องโน้ตดนตรีสากลเบื้อง ต้นชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 มีคะแนนเฉลี่ยคิดเป็น ร้อยละ 90.18 แสดงมีการสูญเสียความจำาคิดเป็น ร้อยละ 9.82 ของค่าเฉลี่ยคะแนนหลังเรียน

6. นักเรียนที่เรียนด้วยบทเรียนบนเว็บที่มี

รูปแบบการนำาเสนอเนื้อหาแบบลำาดับขั้นและแบบ ใยแมงมุม มีพฤติกรรมทางการเรียน เฉลี่ยเท่ากับ 3.60 ที่พฤติกรรมระดับ สูง และเฉลี่ยเท่ากับ 3.50 ที่พฤติกรรมระดับ สูง ตามลำาดับ แสดงว่า นักเรียนทั้งสองกลุ่มทดลองมีพฤติกรรมทางการ เรียน ที่ระดับสูง หลังจากได้เรียนด้วยบทเรียนบน เว็บ ซึ่งสอดคล้องกับงานวิจัยของ ฉวีวรรณ มาลี

(2552: 118-122) พบว่า พฤติกรรมการเรียน ด้านการปฏิบัติตัวในชั้นเรียนด้านการทบทวน

Garis besar

Dokumen terkait