• Tidak ada hasil yang ditemukan

นำาผลการตรวจที่ได้มาทำาการวิเคราะห์

การดำาเนินการวิจัย

3. นำาผลการตรวจที่ได้มาทำาการวิเคราะห์

เพื่อหาค่าทางสถิติ

การวิเคราะห์ข้อมูล

1. วิเคราะห์ค่าสถิติพื้นฐาน ได้แก่ ค่า เฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและสัมประสิทธิ์

การกระจาย

2. วิเคราะห์องค์ประกอบความแปรปรวน และประมาณค่าสัมประสิทธิ์การสรุปอ้างอิงด้วย โปรแกรม GENOVA

ผลการวิจัย

1. ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสัมประสิทธิ์การกระจายของแบบวัดทักษะ กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ดังตาราง 1 ตาราง 1 ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและสัมประสิทธิ์การกระจายของแบบวัดทักษะกระบวนการ

ทางวิทยาศาสตร์

จำานวนผู้ตรวจ รูปแบบการตรวจ คะแนนเต็ม S.D. C. V.

3 T1 24 12.947 2.740 21.163

T2 24 13.147 2.890 21.982

จากตาราง 1 พบว่า แบบวัดทักษะ กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ที่มีจำานวนผู้ตรวจ 3 คน โดยใช้รูปแบบการตรวจให้คะแนนที่ผู้ตรวจ ตรวจข้อสอบทุกข้อของผู้สอบทุกคน (T1) และรูป แบบการตรวจให้คะแนนที่ผู้ตรวจตรวจข้อสอบทุก ข้อของผู้สอบบางคน (T2)

มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 12.947 และ 13.147 ตามลำาดับ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานมีค่าเท่ากับ 2.740 และ 2.890 ตามลำาดับ สัมประสิทธิ์การก ระจายมีค่าเท่ากับ 21.163 และ 21.982 ตาม ลำาดับ

2. การประมาณค่าความแปรปรวน ขององค์ประกอบที่มีผลต่อสัมประสิทธิ์การสรุป อ้างอิงของการตรวจให้คะแนนของแบบวัดทักษะ กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ที่มีรูปแบบการ ตรวจให้คะแนนต่างกัน

2.1 การประมาณค่าความแปรปรวน ขององค์ประกอบ ที่มีจำานวนผู้ตรวจ 3 คน ตรวจ ข้อสอบทุกข้อของผู้สอบทุกคน (p x i x r) ปรากฏ ผลดังตาราง 2

ตาราง 2 ค่าความแปรปรวนขององค์ประกอบ เมื่อมีจำานวนผู้ตรวจ 3 คน และตรวจข้อสอบทุกข้อของ ผู้สอบทุกคน (np=120, ni=12, nr=3)

Source of DF SS MS Estimated Variance % of Total

Variation Component Variance

P 119 5252.6111 1.6801 .0322 9.0858

I 11 5106.1222 4.8583 .0000 .0000

R 2 5054.8542 1.0863 .0000 .0000

PI 1309 5613.3333 .2348 .0000 .0000

PR 238 5379.0000 .5219 .0221 6.2359

IR 22 5229.7833 5.5222 .0439 12.3871

PIR 2618 6532.0000 .2562 .2562 72.2912

Total 4319 38167.7041 - .3544 100.00

จากตาราง 2 พบว่า ค่าความแปรปรวน ของแหล่งต่างๆ เมื่อเทียบกับความแปรปรวนรวม เรียงจากมากไปหาน้อย ได้แก่ ความแปรปรวน ของความคลาดเคลื่อนเชิงสุ่มที่ไม่สามารถระบุ

ได้ (PIR) มีค่าเท่ากับ .2562 คิดเป็นร้อยละ 72.2912 รองลงมาคือ ค่าความแปรปรวนของ ปฏิสัมพันธ์ ระหว่างผู้ตรวจและข้อสอบ (IR) มี

ค่าเท่ากับ .0439 คิดเป็นร้อยละ 12.3871 ค่า ความแปรปรวนของผู้สอบ (P) มีค่าเท่ากับ. 0322 คิดเป็นร้อยละ 9.0858 ค่าความแปรปรวนของ

ปฏิสัมพันธ์ระหว่างผู้ตรวจและผู้สอบ (PR) มีค่า เท่ากับ .0221 คิดเป็นร้อยละ 6.2359 ส่วนค่า ความแปรปรวนของข้อสอบ (I) ค่าความแปรปรวน ของผู้ตรวจ (R) และค่าความแปรปรวนของ ปฏิสัมพันธ์ระหว่างผู้สอบและข้อสอบ (PI) มีค่า ไม่แตกต่างกัน

2.2 การประมาณค่าความแปรปรวน ขององค์ประกอบ ที่มีจำานวนผู้ตรวจ 3 คน ตรวจ ข้อสอบทุกข้อของผู้สอบบางคน (p: r) x i ปรากฏ ผลดังตาราง 3

จากตาราง 3 พบว่า ค่าความแปรปรวน ของแหล่งต่างๆ เมื่อเทียบกับความแปรปรวนรวม เรียงจากมากไปหาน้อยได้แก่ ปฏิสัมพันธ์ระหว่าง ข้อสอบกับผู้สอบในแต่ละผู้ตรวจและความคลาด เคลื่อนเชิงสุ่มที่ไม่สามารถระบุได้ (IP: R) มีค่า เท่ากับ .2840 คิดเป็นร้อยละ 81.7972 รอง ลงมาคือความแปรปรวนของข้อสอบ (I) มีค่า เท่ากับ .0363 คิดเป็นร้อยละ 10.4551 ความ แปรปรวนของผู้สอบในแต่ละผู้ตรวจ (P: R) มีค่า เท่ากับ .0239 คิดเป็นร้อยละ 6.8836 ส่วนความ

แปรปรวนของผู้ตรวจ (R) และความแปรปรวนของ ปฏิสัมพันธ์ระหว่างข้อสอบกับผู้ตรวจ (IR) มีค่า เท่ากับ .0016 และ .0014 คิดเป็นร้อยละ .4608 และ .4032 ตามลำาดับ

3. เปรียบเทียบสัมประสิทธิ์การสรุป อ้างอิงของแบบวัดทักษะกระบวนการทาง วิทยาศาสตร์ ที่มีรูปแบบการตรวจให้คะแนนต่าง กันผู้วิจัยประมาณสัมประสิทธิ์การสรุปอ้างอิง โดย ใช้โปรแกรม GENOVA ที่มีรูปแบบการตรวจให้

คะแนนต่างกัน ปรากฏผลดังตาราง 4

ตาราง 3 ค่าความแปรปรวนขององค์ประกอบ เมื่อมีจำานวนผู้ตรวจ 3 คน และตรวจข้อสอบทุกข้อของ ผู้สอบบางคน (np=120, ni=12, nr=3)

Source of DF SS MS Estimated Variance % of Total

Variation Component Variance

I 11 1785.3167 4.7005 .0363 10.4551

R 2 1736.3875 1.3882 .0016 .4608

P: R 117 1803.1667 .5708 .0239 6.8836

IR 22 1795.6000 .3412 .0014 .4032

IP: R 1287 2228.0000 .2841 .2840 81.7972

Total 1439 9348.4709 - .3472 100.00

ตาราง 4 การเปรียบเทียบสัมประสิทธิ์การสรุปอ้างอิงของการตรวจให้คะแนนแบบวัดทักษะ กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ที่มีรูปแบบการตรวจให้คะแนนเป็น p x i x r และ (p: r) x i รูปแบบการตรวจให้คะแนน สัมประสิทธิ์การสรุปอ้างอิง (Eρ2)

T1 .689

T2 .927

จากตาราง 4 พบว่า สัมประสิทธิ์การ สรุปอ้างอิงของการตรวจให้คะแนนแบบวัดทักษะ กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ที่ตรวจให้คะแนน ตามรูปแบบผู้ตรวจตรวจข้อสอบทุกข้อของผู้สอบ ทุกคน (T1) มีค่าเท่ากับ. 689 และสัมประสิทธิ์การ สรุปอ้างอิงของการตรวจให้คะแนนแบบวัดทักษะ กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ที่ตรวจให้คะแนน ตามรูปแบบผู้ตรวจตรวจข้อสอบทุกข้อของผู้สอบ บางคน (T2) มีค่าเท่ากับ .927 จะเห็นได้ว่า การ ตรวจให้คะแนนตามรูปแบบ T2 มีสัมประสิทธิ์การ สรุปอ้างอิงสูงกว่า รูปแบบ T1

อภิปรายผล

1. ความแปรปรวนขององค์ประกอบ การ

Garis besar

Dokumen terkait