• Tidak ada hasil yang ditemukan

กกกก

5. การวิเคราะห์ข้อมูล

วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้การพรรณนา

96 ระยะที่ 2 การพัฒนาการจัดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์แบบสืบเสาะหาความรู้ร่วมกับเทคนิค ผังกราฟิกที่ส่งเสริมการคิดวิเคราะห์ ส าหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5และการตรวจสอบ คุณภาพเครื่องมือ

ขั้นที่ 1การสังเคราะห์การจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์แบบสืบเสาะหาความรู้ร่วมกับเทคนิค ผังกราฟิกที่ส่งเสริมการคิดวิเคราะห์ ส าหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5

การศึกษาเอกสาร ทฤษฎี และเอกสารงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการการจัดการเรียนรู้

วิทยาศาสตร์แบบสืบเสาะหาความรู้ ผังกราฟิก การคิดวิเคราะห์ และข้อมูลจากการสัมภาษณ์ครูผู้สอน วิทยาศาสตร์ จ านวน 3 คน แล้วน ามาพัฒนาการจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์แบบสืบเสาะ หาความรู้

ร่วมกับเทคนิคผังกราฟิกที่ส่งเสริมการคิดวิเคราะห์ ส าหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ได้เป็นขั้นตอนการจัดการเรียนรู้ 5 ขั้นตอน ดังตาราง 2

ตาราง 2 การพัฒนาการจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์แบบสืบเสาะหาความรู้ร่วมกับเทคนิคผังกราฟิกที่

ส่งเสริมการคิดวิเคราะห์

ขั้นตอน การจัดการเรียนรู้

การศึกษาเอกสาร การสัมภาษณ์ครู

ขั้นที่ 1 เกริ่นน า (Introduction) ผู้สอนสร้างความ สนใจให้ผู้เรียน รู้สึกอยากเรียนรู้

ใช้กิจกรรมที่

หลากหลาย กระตุ้นให้ผู้เรียน อยากเรียนรู้ เช่น การทบทวน ความรู้เดิม การ เล่าเหตุการณ์

การใช้ภาพ เกม

ใช้กรอบแนวคิดทฤษฎีของใช้กรอบแนวคิดของ Marjorie L. Pappas and Ann E. Tepe. (2002:

30) กล่าวว่าการกระตุ้นความสนใจของผู้เรียนเป็น สิ่งส าคัญล าดับแรกในกระบวนการสืบเสาะหาความรู้

โดยเป็นประเด็นหรือปัญหาที่ผู้เรียนมีความสงสัย มีความท้าทายให้ผู้เรียนเกิดความสงสัยหรืออยากรู้

สอดคล้องกับ ทิศนา แขมมณี (2554: 29-30) ที่ได้

พัฒนาตามแนวคิดว่า ผู้เรียนควรได้รับการกระตุ้น ความสนใจอยากรู้ การเกริ่นน านั้นต้องท าให้ผู้เรียนมี

ความสนใจ รู้สึกอยากเรียนอยากรู้ และกระตือรือร้น ในการเรียนรู้ โดยให้ผู้เรียนวิเคราะห์ข้อเท็จจริงจาก ปัญหาได้

ในขั้นการสร้างความ สนใจของผู้เรียน ครูผู้สอนใช้กิจกรรม สั้นๆ หรือเรื่องที่

น่าสนใจ ซึ่งอาจมา จากเหตุการณ์ที่ก าลัง เกิดขึ้นอยู่ในช่วงเวลา นั้น กระตุ้นให้ผู้เรียน เกิดความสงสัยอยากรู้

97 ตาราง 2 (ต่อ)

ขั้นตอน การจัดการเรียนรู้

การศึกษาเอกสาร การสัมภาษณ์ครู

ขั้นที่ 1 เกริ่นน า (Introduction)

(ต่อ) หรือฉายวีดีทัศน์

ซึ่งมีเนื้อหาสาระ สอดคล้องกับสิ่งที่

จะเรียน

นันทิยา บุญเคลือบ (2540: 13-14) ได้อธิบายว่า ขั้นน าเข้าสู่บทเรียนของกระบวนการจัดกิจกรรมการ เรียนรู้วิทยาศาสตร์แบบสืบเสาะหาความรู้เป็น กิจกรรม ที่ผู้สอนเสนอแนะในห้องเรียน การเกริ่นน า ด้วยการทบทวนความรู้และประสบการณ์เดิมท าให้

ผู้เรียนเกิดความสนใจ กระตือรือร้น และอยากรู้

อยากเห็น ขั้นการน าเข้าสู่บทเรียนในเชิงของปัญหา เพื่อกระตุ้นท้าทายให้ผู้เรียนได้คิดและแก้ปัญหา กระท าได้โดยการเล่าเหตุการณ์ การสร้าง

สถานการณ์หรือปัญหาที่น่าสงสัย (ภพ เลาหไพบูลย์, 2542: 120) กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ในขั้น ก าหนดปัญหาโดยการจัดสถานการณ์หรือเรื่องราว ที่น่าสนใจเพื่อกระตุ้นให้ผู้เรียนสังเกต สงสัยใน เรื่องราวหรือสถานการณ์นั้น (วัฒนาพร ระงับทุกข์, 2543: 18-19)

ขั้นที่ 2 ถามตอบ (Question) ผู้สอนตั้งค าถาม ให้ผู้เรียนคิด วิเคราะห์ วิจารณ์

แล้วสรุปความ จากการถามและ การตอบให้ได้

ประเด็นหลักเพื่อ หาค าตอบ

ใช้แนวคิดของ พิมพันธ์ เดชะคุปต์ และพเยาว์

ยินดีสุข (2548: 120-121) กล่าวไว้ว่าการถาม ค าถามในห้องเรียนมี 3 ลักษณะ ได้แก่ 1) ครูเป็น ผู้ถามค าถามให้นักเรียนตอบ 2) ครูและนักเรียน ร่วมกันถามค าถาม 3) นักเรียนเป็นผู้ถามค าถาม ค าถามที่ดีจะกระตุ้นความคิดของผู้เรียน ผู้เรียนกล้า ถามย้อนกลับ แนวคิดของนักการศึกษากลุ่ม BSCS เชื่อว่ากิจกรรมการเรียนการสอนประกอบด้วยการ ซักถามประเด็นปัญหาซึ่งท าให้ผู้เรียนเกิดความสนใจ อยากรู้อยากเห็น (นันทิยา บุญเคลือบ, 2540: 13)

ใช้ค าถามในหลาย ลักษณะเพื่อกระตุ้น ผู้เรียนได้ใช้ทักษะการ คิดเรียบเรียงความรู้

เป็นการโต้ตอบเปิด โอกาสให้ผู้เรียนเข้าใจ ในประเด็นค าถามที่จะ ศึกษา ครูถามกระตุ้น ให้ผู้เรียนคิดวิเคราะห์

จากการถาม การตอบ

98 ตาราง 2 (ต่อ)

ขั้นตอน การจัดการเรียนรู้

การศึกษาเอกสาร การสัมภาษณ์ครู

ขั้นที่ 2 ถามตอบ (Question) (ต่อ) จากการเสาะหา ข้อมูลความรู้

อย่างเป็นระบบ

การใช้ค าถามในการสืบเสาะหาความรู้ในขั้นสร้าง สถานการณ์ การซักถามเป็นการกระตุ้นและท้าทาย ให้ผู้เรียนได้ใช้ทักษะการคิดและการอภิปรายใน ประเด็นที่สนใจ (ภพ เลาหไพบูลย์, 2542: 120)

ให้ได้ประเด็นหลักอัน จะน าไปสู่การหา ค าตอบจากการ แสวงหาข้อมูล ขั้นที่ 3 สอบสวน

สืบค้น

(Investigation) ผู้เรียนร่วมกัน อภิปรายและวาง แผนการส ารวจ ตรวจสอบด้วย วิธีการต่างๆ เพื่อให้ได้ข้อมูล ที่

เพียงพอ น ามา วิเคราะห์ และจัด กระท าข้อมูล โดยใช้ผังกราฟิก ได้แก่ ผังก้างปลา ผังใยแมงมุม หรือ ผังทีชาร์ต มาจัด กระท าข้อมูลที่ได้

จากการสอบสวน สืบค้น

การสังเคราะห์ขั้นสอบสวนสืบค้นใช้กรอบแนวคิด ของ Marjorie L. Pappas and Ann E. Tepe.

(2002: 31-32) กล่าวไว้ว่า การเสาะแสวงหาความรู้

โดยรวบรวมข้อมูลด้วยวิธีการตรวจสอบท าได้หลาย วิธี เช่น การสังเกต การส ารวจ การทดลอง การศึกษาหาข้อมูลจากเอกสารหรือจากแหล่งข้อมูล ต่างๆ เพื่อให้ได้มาซึ่งข้อมูลอย่างเพียงพอ จากนั้น น าข้อมูลที่ได้มาวิเคราะห์ แปลผล สรุปผล และ อภิปรายแสดงความคิดเห็นต่อข้อมูล สิ่งส าคัญที่

จะช่วยให้ผู้เรียนเกิดความต้องการที่จะเสาะแสวงหา ความรู้คือปัญหา ปัญหานั้นจะต้องมีความหมายต่อ ผู้เรียน และท้าทายเพียงพอที่จะท าให้ผู้เรียนมีความ ต้องการที่จะแสวงหาค าตอบเมื่อแต่ละกลุ่มมีความ คิดเห็นแตกต่างกันแล้วสมาชิกกลุ่มช่วยกันวางแผน ว่าจะแสวงหาข้อมูลอะไรบ้าง พิสูจน์อะไร จ าเป็น ต้องมีข้อมูลอะไร จะได้ข้อมูลนั้นได้อย่างไร จะต้อง ใช้เครื่องมืออะไร (ทิศนา แขมมณี, 2554: 41-43) การสืบเสาะหาความรู้มีการรวบรวม วิเคราะห์ข้อมูล และสรุปผลด้วยตนเอง (พิมพันธ์ เดชะคุปต์ และ พเยาว์ ยินดีสุข, 2548: 76)

ครูผู้สอนควรกระตุ้น ให้ผู้เรียนหาสาเหตุ

ของปัญหา ตั้งสมมติฐานตาม กระบวนการทาง วิทยาศาสตร์ ผู้เรียน ก าหนดแนวทางการ เสาะแสวงหาความรู้

หรือออกแบบการ ทดลอง บันทึกข้อมูล และรวบรวมข้อมูล โดยการใช้ผังกราฟิก ได้แก่ ผังก้างปลา และ ผังวงกลมซ้อน เพื่อ ฝึกการคิดวิเคราะห์ซึ่ง ต้องใช้ทักษะการคิด เช่น การสังเกต การ จัดประเภท การ แยกแยะ

99 ตาราง 2 (ต่อ)

ขั้นตอน การจัดการเรียนรู้

การศึกษาเอกสาร การสัมภาษณ์ครู

ขั้นที่ 3 สอบสวน สืบค้น

(Investigation) (ต่อ) ผู้เรียนวิเคราะห์

อภิปราย และ ลงข้อสรุป

กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ มีการรวบรวมข้อมูล เป็นขั้นที่ครูมอบหมายให้ผู้เรียนไปค้นคว้าหาข้อมูล จากเอกสารหรือแหล่งข้อมูลต่างๆ ผู้เรียนวิเคราะห์

และประเมินว่าข้อมูลเหล่านั้นมีความเกี่ยวข้องกับ ปัญหาหรือไม่ มีความถูกต้องน่าเชื่อถือเพียงได (วัฒนาพร ระงับทุกข์, 2543: 19)

ผู้เรียนเสาะแสวงหา ความรู้และข้อมูลที่

เกี่ยวข้องมาสนับสนุน ผู้สอนช่วยในการ อ านวยความสะดวก ในการท ากิจกรรมของ ผู้เรียน

ขั้นที่ 4 น าเสนอ (Presentation) ผู้เรียนน าข้อมูลที่

แสดงองค์ความรู้

ไปเชื่อมโยงกับ ความรู้เดิม หรือ น าข้อสรุปที่ได้

ไปน าเสนอข้อมูล จากการเรียนรู้

โดยน าสัญลักษณ์

ความคิด ข้อมูล ส าคัญมาเชื่อมโยง กันในแบบต่างๆ โดยใช้ผังกราฟิก จะท าให้ผู้เรียนมี

ความรู้ความ เข้าใจในสาระนั้น ชัดเจนยิ่งขึ้น

การสังเคราะห์ขั้นน าเสนอ ใช้กรอบแนวคิดของ ทิศนา แขมมณี (2558: 248-249) ที่ได้พัฒนาจาก แนวคิดที่ว่าให้ผู้เรียนวิเคราะห์ข้อมูล เมื่อกลุ่ม รวบรวมข้อมูลได้มาแล้วสมาชิกกลุ่มร่วมกันวิเคราะห์

ข้อมูล และผู้สอนช่วยให้ค าแนะน าเกี่ยวกับการ วิเคราะห์ข้อมูล จากนั้นจึงให้แต่ละกลุ่มน าเสนอผล จากการวิเคราะห์ข้อมูล เมื่อได้ข้อมูลเพียงพอจาก การส ารวจตรวจสอบแล้ว จึงน าข้อมูลข้อสนเทศที่

ได้มาวิเคราะห์ แปลผล และน าเสนอผลที่ได้ใน รูปแบบต่างๆ จะอยู่ในรูปแบบใดก็สามารถสร้าง ความรู้และช่วยให้เกิดการเรียนได้ (สถาบันส่งเสริม การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี, 2546: 219) ผู้เรียนน าข้อมูลที่ได้จากการสืบเสาะจากแหล่งเรียนรู้

ต่างๆ มาวิเคราะห์ อภิปรายผล และน าเสนอ แลกเปลี่ยนความคิดเห็นกับผู้อื่น ครูให้ค าแนะน าใน การเคราะห์ข้อมูล และกระบวนการเรียนรู้ที่ได้จาก การเรียนรู้ (ชนาธิป พรกุล, 2557: 139)

ผู้เรียนน าเสนอข้อมูล ที่แสดงองค์ความรู้

ความเข้าใจที่เกิดขึ้น จากการสืบค้นข้อมูล จากการเรียนรู้

น าเสนอโดยใช้ผัง ก้างปลา ผังทีชาร์ต หรือแบบวงกลมซ้อน ที่นักเรียนได้จัดท าขั้น ผู้สอนให้ค าแนะน า และกระตุ้นให้ผู้เรียน ก าหนดสิ่งที่วิเคราะห์

ก าหนดขอบเขตและ จุดมุ่งหมายของการ วิเคราะห์ โดย

พิจารณาข้อมูลความรู้

หลักการ กฎเกณฑ์ที่

ใช้ในการวิเคราะห์

100 ตาราง 2 (ต่อ)

ขั้นตอน การจัดการเรียนรู้

การศึกษาเอกสาร การสัมภาษณ์ครู

ขั้นที่ 4 น าเสนอ (Presentation)

(ต่อ)

การอภิปรายหลังการทดลอง เป็นขั้นการน าเสนอ ข้อมูลและสรุปผลการทดลอง ในขั้นนี้ครูต้องน าการ อภิปรายโดยใช้ค าถามเพื่อน าผู้เรียนไปสู่ข้อสรุป (พิมพันธ์ เดชะคุปต์ และพเยาว์ ยินดีสุข, 2548: 76) ขั้นที่ 5 สรุป

(Conclusion) ผู้เรียนใช้ข้อมูลที่

ผ่านการวิเคราะห์

และข้อสรุปของ แต่ละกลุ่มให้ได้

ข้อสรุปแนวคิด หรือหลักเกณฑ์ที่

ส าคัญของ บทเรียน ผู้สอน น าการอภิปราย โดยใช้ค าถามน า ผู้เรียนเพื่อน าไปสู่

องค์ความรู้และ เพื่อประยุกต์ใช้ใน เรื่องอื่นๆ หรือ เพื่อแสวงหา ความรู้ใหม่

การสังเคราะห์ขั้นการจัดการเรียนรู้ในขั้นสรุปนี้ได้ใช้

แนวคิดของ(ทิศนา แขมมณี, 2558: 250) ซึ่งเชื่อว่า การคิดเป็นเป็นกระบวนการปฏิสัมพันธ์ระหว่าง บุคคลกับข้อมูล และมีล าดับขั้นตอน ในการจัดการ เรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ประกอบไปด้วยขั้นการ ตีความและสรุปข้อมูล และขั้นสรุปอ้างอิง เมื่อค้นพบ ความสัมพันธ์ หรือหลักการแล้วผู้เรียนสรุปอ้างอิง โดยเชื่อมโยงสิ่งที่ค้นพบไปสู่สถานการณ์อื่นๆ ในขั้น สรุปของการสืบเสาะหาความรู้ครูใช้ค าถามโดยอาศัย ข้อมูลที่ได้จากการทดลองน าไปสู่การสรุป หาค าตอบ ในการแก้ปัญหาน าความรู้ไปใช้ในสถานการณ์ใหม่ได้

(ภพ เลาหไพบูลย์, 2542: 123) ในการสืบเสาะหา ความรู้ด้วยวิธีการให้ผู้เรียนทดลอง ขั้นอภิปรายหลัง การทดลอง ผู้เรียนร่วมกันสรุปผลการทดลอง ครูใช้

ค าถามน าการอภิปรายของผู้เรียนไปสู่ข้อสรุปให้ได้

แนวคิดหรือหลักเกณฑ์ที่ส าคัญของบทเรียนที่ถูกต้อง สมบูรณ์ (พิมพันธ์ เดชะคุปต์ และพเยาว์ ยินดีสุข, 2548: 76)

ครูเป็นผู้อ านวยความ สะดวกในการเรียนรู้

หาวิธีการกระตุ้นให้

ผู้เรียนผู้เรียนได้

ค าตอบของตนเอง สร้างค าอธิบาย ส่งเสริมให้ผู้เรียนได้

น าเสนอและ แลกเปลี่ยนความรู้

ความคิดของตนเองกับ เพื่อน ประเมินการ เชื่อมโยงค าอธิบาย ไปสู่ข้อค้นพบหรือ ข้อสรุปของตนเอง ครูผู้สอนได้ประเมิน ความคิดความเข้าใจ และพัฒนาการในการ เรียนรู้ของผู้เรียนได้

จากตาราง 2 ผู้วิจัยได้ก าหนดขั้นตอนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้

ร่วมกับเทคนิคผังกราฟิกที่ส่งเสริมการคิดวิเคราะห์ ได้ 5 ขั้นตอน ได้แก่

Garis besar

Dokumen terkait