• Tidak ada hasil yang ditemukan

ระบุปัญหาที่ต าแหน่งหัวปลา

กกกก

3.1 ระบุปัญหาที่ต าแหน่งหัวปลา

3.2 เขียนสาเหตุหลักหรือประเด็นปัญหาหลักเป็นก้างปลาใหญ่

3.3 เขียนสาเหตุย่อยจากแต่ละสาเหตุหลักเป็นก้างปลาเล็กๆ

ที่มา : Leavel A. and Chitlada P. (2008: 100) รูปภาพ 13 ผังก้างปลา (Fishbone map)

หัวเรื่อง หัวเรื่องรอง

หัวเรื่องรอง

หัวเรื่องรอง หัวเรื่องรอง

หัวเรื่องรอง หัวเรื่องรอง

ปัญหา สาเหตุของปัญหา

สาเหตุของปัญหา สาเหตุของปัญหา

สาเหตุของปัญหา

45 4. ผังก้อนเมฆ (Cluster or Cloud diagram) เป็นผังกราฟิกที่แสดงการเชื่อมโยง ข้อมูลที่มาจากความคิดย่อยๆ จากการระดมสมอง ซึ่งความคิดย่อยๆ จะสัมพันธ์กับความคิดหลัก

ขั้นตอนการสร้าง

4.1 เริ่มเขียนหรือวาดภาพความคิดหลักหรือหัวข้อหลัก

4.2 เขียนภาพความคิดรอง ที่สัมพันธ์กับความคิดหลัก หรือหัวข้อหลัก 4.3 เขียนหรือวาดภาพความคิดรองแตกออกไปเรื่อยๆ กระจากออกไปรอบๆ ความคิดหลัก โดยเชื่อมโยงด้วยเส้นตรงหรือลูกศร แล้วแตกแขนงเส้นย่อยออกไปตามความคิดย่อยๆ

ที่มา : Leavel A. and Chitlada P. (2008: 101) รูปภาพ 14 ผังก้อนเมฆ (Cluster or Cloud diagram)

5. ผังโครงสร้างต้นไม้ (Tree structure) เป็นผังกราฟิกที่แสดงความสัมพันธ์

ของเรื่องที่มีความส าคัญลดหลั่นกันเป็นขั้นๆ ใช้สรุปความสัมพันธ์องค์ประกอบหลัก องค์ประกอบรอง และองค์ประกอบย่อยของแต่ละเรื่อง ใช้เปรียบเทียบหรือจ าแนกประเภทข้อมูล และใช้น าเสนอ โครงสร้างของเรื่องโดยเรียงล าดับความสัมพันธ์ของข้อมูลอย่างเป็นระบบ

ขั้นตอนการสร้าง

5.1 เขียนมโนทัศน์หลักหรือหัวข้อเรื่องใหญ่ไว้ตรงกลาง 5.2 เขียนมโนทัศน์ที่มีความส าคัญรองลงมาเป็นล าดับขั้น 5.3 เชื่อมมโนทัศน์ต่างๆ โดยใช้เส้น

ความคิดหลัก

ความคิดย่อย ความคิดรอง

รอย

ความคิดย่อย

ความคิดย่อย ความคิดรอง

ความคิดรอง ความคิด

ความคิดย่อย รอง

ความคิดย่อย ความคิดย่อย

46 6. ผังล าดับ (Sequential map) ใช้แสดงล าดับขั้นตอนของสิ่งต่างๆ เสนอข้อมูล ที่เกี่ยวข้องกับการวางแผน ใช้กับข้อมูลที่มีลักษณะเป็นกระบวนการต่างๆ

ขั้นตอนการสร้าง

6.1 เขียนค าส าคัญและเรียบเรียงขั้นตอน 6.2 น าค าส าคัญของขั้นตอนเป็นจุดตั้งต้น

6.3 น าค าส าคัญของขั้นตอนต่อไปมาเขียนต่อจากขั้นตอนแรก จนถึงขั้นตอน สุดท้ายของกระบวนการ

ที่มา : Leavel A. and Chitlada P. (2008: 103) รูปภาพ 15 ผังล าดับ (Sequential map)

7. ผังวัฏจักร (Circle or Cyclical map) ผังวัฏจักรหรือผังวงจรใช้แสดงล าดับ ขั้นตอนที่ต่อเนื่องกันเป็นวัฏจักรที่ไม่แสดงจุดสิ้นสุดหรือจุดเริ่มต้นที่แน่นอน หรือระบบที่เกิดขึ้นซ้ าๆ

ขั้นตอนการสร้าง 7.1 ระบุหัวข้อเรื่อง

7.2 เขียนขั้นตอนแรกหรือปรากฏการณ์แรกและขั้นตอนต่อไป 7.3 น าข้อมูลเรียงล าดับเป็นวัฏจักรหรือวงจร

7.4 ใช้เส้นและหัวลูกศรเป็นสัญลักษณ์ในการสื่อความหมายล าดับ ของเหตุการณ์

ขั้นตอนการด าเนินงาน/หัวเรื่อง ขั้นตอนที่ 1

ขั้นตอนที่ 3 ขั้นตอนที่ 2

47

ที่มา : Leavel A. and Chitlada P. (2008: 104) รูปภาพ 16 ผังวัฏจักร (Circle or Cyclical map)

8. ผังแบบที-ชาร์ต (T-chart) เป็นผังกราฟิกที่แสดงความแตกต่างของสิ่งที่ศึกษา โดยแบ่งกระดาษออกเป็น 2 ส่วน

ขั้นตอนการสร้าง

Garis besar

Dokumen terkait