• Tidak ada hasil yang ditemukan

กกกก

ตาราง 4 ต่อ) ด้านการ

3. การวิเคราะห์

หลักการ

การค้นหาโครงสร้างและระบบของวัตถุ เรื่องราว สถานการณ์ สิ่งของ และการท างานต่างๆ ว่าสิ่งเหล่านั้น รวมกันจนด ารงอยู่ได้เช่นนั้นอยู่ได้เนื่องจากอะไร โดยยึด อะไรเป็นหลัก มีหลักการอย่างไร มีเทคนิคอย่างไร

15 10

รวม 45 30

114 3.3.4.4 นางสุภาวดี วรรัตน์ ต าแหน่ง ครู วิทยฐานะช านาญการพิเศษ โรงเรียน ถ้ าปลาวิทยายน อ าเภอสหัสขันธ์ ส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาฬสินธุ์ เขต 1

วุฒิ กศ.ม. (สาขาการวัดผลและประเมินผลการศึกษา) เชี่ยวชาญด้านการวัดผล

3.3.4.5 นายสุริยา ผ่องเสียง ต าแหน่งศึกษานิเทศก์ วิทยฐานะช านาญการพิเศษ ส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาฬสินธุ์ เขต 1 วุฒิ กศ.ม. (สาขาวัดผลการศึกษา) เชี่ยวชาญด้านการวัดผล

เพื่อพิจารณาตรวจสอบลักษณะการใช้ค าถาม เนื้อหา สถานการณ์ และภาษาที่ใช้

พิจารณารายข้อค าถาม แล้วน ามาวิเคราะห์หาค่าดัชนีความสอดคล้องระหว่างข้อค าถามของแบบวัด การคิดวิเคราะห์กับพฤติกรรมชี้วัดด้านการคิดวิเคราะห์ ใช้สูตร IOC (สมนึก ภัททิยธนี, 2553: 220) เพื่อหาผลรวมของคะแนนของผู้เชี่ยวชาญทั้งหมดแล้วน ามาหาค่าเฉลี่ย ถือเกณฑ์ความเหมาะสม ตั้งแต่ 0.50-1.00

3.3.5 น าแบบวัดการคิดวิเคราะห์มาปรับปรุงตามข้อเสนอแนะของผู้เชี่ยวชาญแล้ว น าแบบวัดการคิดวิเคราะห์ที่ได้แล้วน าไปจัดพิมพ์

3.3.6 น าแบบวัดการคิดวิเคราะห์ไปทดลองใช้ กับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนโนนศิลาไกรฤกษ์ราษฎร์อ านวย ส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาฬสินธุ์ เขต 1 ที่ไม่ใช่กลุ่มเป้าหมาย จ านวน 26 คน น าข้อมูลมาวิเคราะห์หาคุณภาพของแบบวัดการคิดวิเคราะห์

โดยค านวณค่าความยาก (p) โดยก าหนดค่าความยากตั้งแต่ 0.20- 0.80 ค่าอ านาจจ าแนกรายข้อ (r) ตั้งแต่ 0.20–1.00 แล้วคัดเลือกข้อที่เข้าเกณฑ์ไว้ จ านวน 30 ข้อ

3.3.7 น าแบบวัดการคิดวิเคราะห์ จ านวน 30 ข้อ น ามาวิเคราะห์หาค่าความเชื่อมั่น ของแบบทดสอบทั้งฉบับ โดยใช้สูตร KR–20ของคูเดอร์-ริชาร์ดสัน (Kuder-Richardson)

(บุญชม ศรีสะอาด, 2552: 94)

3.3.8 จัดพิมพ์แบบวัดการคิดวิเคราะห์ที่ผ่านการหาคุณภาพแล้วให้เป็นฉบับสมบูรณ์

เพื่อใช้เป็นแบบวัดการคิดวิเคราะห์ฉบับจริง เพื่อน าไปใช้กับนักเรียนกลุ่มตัวอย่างต่อไป 3.4 แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน

แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง แรงและการเคลื่อนที่ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ผู้วิจัยได้ด าเนินการสร้างแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์

ทางการเรียนเพื่อใช้ทดสอบหลังเรียน เป็นแบบปรนัยชนิดเลือกตอบ 4 ตัวเลือก จ านวน 45 ข้อ มีวิธีด าเนินการสร้างแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ดังนี้

3.4.1 ศึกษาวิธีการสร้างแบบทดสอบชนิดเลือกตอบ จากหนังสือพื้นฐานการวิจัย การศึกษา ศึกษาหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ศึกษาเนื้อหาสาระและ ตัวชี้วัดสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 หน่วยการเรียนรู้ แรงและการเคลื่อนที่

115 เพื่อสร้างแบบทดสอบให้ครอบคลุมเนื้อหาสาระและจุดประสงค์การเรียนรู้ เป็นแบบข้อสอบปรนัย ชนิดเลือกตอบ 4 ตัวเลือก จ านวน 45 ข้อ เพื่อคัดเลือกไว้ใช้จริง จ านวน 30 ข้อ

3.4.2 วิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างสาระการเรียนรู้ จุดประสงค์การเรียนรู้และ ก าหนดจ านวนข้อสอบที่ต้องการให้สอดคล้องกับจุดประสงค์การเรียนรู้และสาระการเรียนรู้ ดังแสดง ในตาราง 5

ตาราง 5 วิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างสาระการเรียนรู้จุดประสงค์การเรียนรู้และจ านวนข้อสอบ

สาระการเรียนรู้ จุดประสงค์การเรียนรู้ จ านวนข้อสอบ

สร้าง ใช้จริง ผลของการออกแรงดึง

และแรงผลักที่กระท าต่อ วัตถุ

1. อธิบายและสรุปเกี่ยวกับความหมายของแรง และ การหาแรงลัพธ์จากการออกแรงดึง และแรงผลักที่

กระท าต่อวัตถุได้

3 2

แรงลัพธ์หลายแรงที่

กระท าต่อวัตถุ

1. อธิบายและสรุปผลการทดลองเกี่ยวกับการหาแรง ลัพธ์เนื่องจากแรงหลายแรง ที่กระท าต่อวัตถุได้

3 2

ประโยชน์ของแรงลัพธ์ 1. อภิปรายและน าความรู้เรื่องแรงลัพธ์ไปประดิษฐ์

ของเล่นหรือสิ่งของเครื่องใช้ได้

3 2

มวลและความหนาแน่น 1. อธิบาย และสรุปเกี่ยวกับมวลและความหนาแน่น ได้ถูกต้อง

3 2

ความดันของอากาศ 1. อธิบายและสรุปผลการทดลองเกี่ยวกับความดัน ของอากาศได้

3 2

ปัจจัยที่มีผลต่อความดัน อากาศและประโยชน์ของ ความดันอากาศ

1. ระบุปัจจัยที่มีผลต่อความดันอากาศและอธิบาย หลักการท างานของเครื่องมือเครื่องใช้ต่างๆ ที่น า ความรู้เรื่องความดันอากาศไปใช้ได้ถูกต้อง

3 2

วางแผน ออกแบบการ ประดิษฐ์ของเล่นของใช้

หลักการความดันอากาศ

1. สืบค้นข้อมูลและอภิปรายเกี่ยวกับการประดิษฐ์

ของเล่น ของใช้โดยอาศัยหลักการของความดัน อากาศ

3 2

116 ตาราง 5 (ต่อ)

สาระการเรียนรู้ จุดประสงค์การเรียนรู้ จ านวนข้อสอบ

สร้าง ใช้จริง ความดันของของเหลว 1. อธิบายและสรุปเกี่ยวกับความดันของของเหลวได้

ถูกต้อง

3 2

ปัจจัยที่มีผลต่อความดัน ของของเหลวและการน า ความรู้เรื่องความดันของ ของเหลวมาใช้ประโยชน์

1. อธิบายปัจจัยที่มีผลต่อความของของเหลว และ ยกตัวอย่างการน าความรู้เรื่องความดันของเหลวมา ใช้ประโยชน์ได้

3 2

แรงลอยตัว 1. อธิบายและสรุปผลการทดลองเกี่ยวกับ แรง ลอยตัวของวัตถุในน้ าได้ถูกต้อง

3 2

ปัจจัยที่มีผลต่อการลอย และการจมน้ า

1. ระบุปัจจัยที่มีผลต่อการลอยและการจมได้ 3 2 แรงเสียดทาน 1. อธิบายและสรุปผลการทดลองเกี่ยวกับการเกิด

แรงเสียดทานได้ถูกต้อง

3 2

ปัจจัยที่มีผลต่อแรงต้าน การเคลื่อนที่ ของวัตถุ

1. อธิบายและระบุปัจจัยที่มีผลต่อแรงต้านการ เคลื่อนที่ของวัตถุได้ถูกต้อง

3 2

ผลของแรงเสียดทาน 1. อธิบายและยกตัวอย่างผลดี ผลเสียของแรงเสียด ทานได้ถูกต้อง

3 2

การน าความรู้เรื่องแรง เสียดทานไปใช้ประโยชน์

ในชีวิตประจ าวัน

1. สืบค้นข้อมูลและน าเสนอเกี่ยวกับการเพิ่มและการ ลดแรงเสียดทานในกรณีต่างๆ ได้ถูกต้อง

3 2

รวม 45 30

117 ตาราง 6 วิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างจุดประสงค์การเรียนรู้ ระดับพฤติกรรมของบลูม (Bloom) และจ านวนข้อสอบ

จุดประสงค์การเรียนรู้

ระดับพฤติกรรมของบลูม

จ านวนข้อสอบที่สร้าง จ านวนข้อสอบที่ใช้จริง

ความจ า ความเข้าใจ น าไปใช้ วิเคราะห์ สังเคราะห์ ประเมินค่า

อธิบายและสรุปเกี่ยวกับความหมายของ แรง และการหาแรงลัพธ์จากการออกแรง ดึงและแรงผลักที่กระท าต่อวัตถุได้

- - 2 1 - - 3 2

อธิบายและสรุปผลการทดลองเกี่ยวกับ การหาแรงลัพธ์เนื่องจากแรงหลายแรง ที่

กระท าต่อวัตถุได้ถูกต้อง

- - 1 2 - - 3 2

ระบุปัจจัยที่มีผลต่อความดันอากาศและ อธิบายหลักการท างานของเครื่องมือ เครื่องใช้ต่างๆ ที่น าความรู้เรื่องความดัน อากาศไปใช้ได้ถูกต้อง

- 2 - - 1 3 2

อธิบาย และสรุปเกี่ยวกับมวลและความ หน้าแน่นได้ถูกต้อง

- 2 1 - - - 3 2

อธิบายและสรุปผลการทดลองเกี่ยวกับ ความดันของอากาศได้

- - 1 2 - - 3 2

ระบุปัจจัยที่มีผลต่อความดันอากาศและ อธิบายหลักการท างานของเครื่องมือ เครื่องใช้ต่างๆ ที่น าความรู้เรื่องความดัน อากาศไปใช้ได้ถูกต้อง

- - - 2 - 1 3 2

สืบค้นข้อมูลและอภิปรายเกี่ยวกับการการ ประดิษฐ์ของเล่น ของใช้โดยอาศัย หลักการของความดันอากาศ

- - - 2 1 - 3 2

118 ตาราง 6 (ต่อ)

จุดประสงค์การเรียนรู้

ระดับพฤติกรรมของบลูม

จ านวนข้อสอบที่สร้าง จ านวนข้อสอบที่ใช้จริง

ความจ า ความเข้าใจ น าไปใช้ วิเคราะห์ สังเคราะห์ ประเมินค่า

อธิบายและสรุปเกี่ยวกับความดันของ ของเหลวได้ถูกต้อง

- - 2 1 - - 3 2

อธิบายปัจจัยที่มีผลต่อความของของเหลว และยกตัวอย่างการน าความรู้เรื่องความ ดันของเหลวมาใช้ประโยชน์ได้

- - - 2 - 1 3 2

อธิบายและสรุปผลการทดลองเกี่ยวกับ แรงลอยตัวของวัตถุในน้ าได้ถูกต้อง

- - 1 2 - - 3 2

ระบุปัจจัยที่มีผลต่อการลอยและการจมได้ - - - 2 1 - 3 2 อธิบายและสรุปผลการทดลองเกี่ยวกับ

การเกิดแรงเสียดทานได้ถูกต้อง

- - 2 1 - 3 2

อธิบายและระบุปัจจัยที่มีผลต่อแรง ต้านการเคลื่อนที่ของวัตถุได้ถูกต้อง

- - - 2 1 - 3 2

อธิบายและยกตัวอย่างผลดี ผลเสียของ แรงเสียดทานได้ถูกต้อง

- - 2 - 1 3 2

สืบค้นข้อมูลและน าเสนอเกี่ยวกับการเพิ่ม และการลดแรงเสียดทานในกรณีต่างๆ ได้

ถูกต้อง

- - 2 1 - - 3 2

รวม 45 30

3.4.3 สร้างแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง แรงและการเคลื่อนที่

กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 แบบปรนัยชนิดเลือกตอบ 4 ตัวเลือก จ านวน 45 ข้อ โดยให้ครอบคลุมเนื้อหาและจุดประสงค์การเรียนรู้

119 3.4.4 น าแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนที่สร้างขึ้นเสนออาจารย์ที่ปรึกษา วิทยานิพนธ์พิจารณาตรวจสอบความสอดคล้องของเนื้อหาและจุดประสงค์การเรียนรู้กับข้อค าถาม ในแบบทดสอบและภาษาที่ใช้ ปรับปรุงแก้ไขตามค าแนะน า

3.4.5 น าแบบทดสอบที่สร้างขึ้นเสนอผู้เชี่ยวชาญ 5 คน ได้แก่

3.4.5.1 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.จิระพร ชะโน ภาควิชาหลักสูตรและการสอน คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ผู้เชี่ยวชาญด้านหลักสูตรและการสอน

3.4.5.2 นางสาวกรวรรณ ค าประเสริฐ ต าแหน่ง ครู วิทยฐานะช านาญการพิเศษ โรงเรียนสิงห์สะอาด อ าเภอสหัสขันธ์ ส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาฬสินธุ์ เขต 1 วุฒิ กศ.ม. (สาขาหลักสูตรและการสอน) เชี่ยวชาญด้านหลักสูตรและการสอน

3.4.5.3 นายธนวรรธ วัชโสก ต าแหน่งศึกษานิเทศก์ วิทยฐานะช านาญการพิเศษ ส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาฬสินธุ์ เขต 1 วุฒิ กศ.ม. (สาขาการวิจัยการศึกษา) เชี่ยวชาญด้านการวิจัย

3.4.5.4 นางสุภาวดี วรรัตน์ ต าแหน่ง ครู วิทยฐานะช านาญการพิเศษ โรงเรียน ถ้ าปลาวิทยายน อ าเภอสหัสขันธ์ ส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาฬสินธุ์ เขต 1 วุฒิ กศ.ม. (สาขาการวัดผลและประเมินผลการศึกษา) เชี่ยวชาญด้านการวัดผล

3.4.5.5 นายสุริยา ผ่องเสียง ต าแหน่งศึกษานิเทศก์ วิทยฐานะช านาญการพิเศษ ส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาฬสินธุ์ เขต 1 วุฒิ กศ.ม. (สาขาวัดผลการศึกษา) เชี่ยวชาญด้านการวัดผล

เพื่อประเมินความสอดคล้องระหว่างข้อสอบแต่ละข้อกับจุดประสงค์การเรียนรู้

โดยใช้สูตร IOC(Item Objective Congruence) ซึ่งมีเกณฑ์การให้คะแนน ดังนี้

ให้คะแนน +1 เมื่อแน่ใจว่าข้อสอบวัดตรงตามจุดประสงค์การเรียนรู้

ให้คะแนน 0 เมื่อไม่แน่ใจว่าข้อสอบวัดตรงตามจุดประสงค์การเรียนรู้

ให้คะแนน -1 เมื่อแน่ใจว่าข้อสอบวัดไม่ตรงตามจุดประสงค์การเรียนรู้

3.4.6 น าผลการตรวจสอบของผู้เชี่ยวชาญมาวิเคราะห์หาค่าดัชนีความสอดคล้อง ของข้อค าถามในแบบทดสอบกับจุดประสงค์การเรียนรู้เป็นรายข้อ โดยใช้สูตร IOC ซึ่งต้องได้ค่า ตั้งแต่ 0.50-1.00 และคัดข้อค าถามเข้าเกณฑ์ไว้ (สมนึก ภัททิยธนี, 2553: 103-105)

3.4.7 น าแบบทดสอบไปทดลองใช้ (Try-out) กับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนโนนศิลาไกรฤกษ์ราษฎร์อ านวย ส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาฬสินธุ์ เขต 1 จ านวน 26 คน ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2560 น าข้อมูลมาวิเคราะห์หาอ านาจจ าแนกรายข้อแบบ อิงเกณฑ์ โดยใช้วิธีของเบรนเนน (Brennan) ซึ่งต้องได้ค่าตั้งแต่ 0.20-1.00 (สมนึก ภัททิยธนี, 2553:

89-91) แล้วคัดเลือกข้อสอบที่เข้าเกณฑ์ไว้ จ านวน 30 ข้อ

Garis besar

Dokumen terkait